ชัวร์ก่อนแชร์

สู่ปีที่ 9 | สังคมไทย ชัวร์ก่อนแชร์

[เว็บไซต์นี้อยู่ระหว่างการปรับปรุง] เมษายน 2566

กล่องสุ่ม 📦 ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : ต้องระวังไก่ฉีดฮอร์โมน จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์เตือนให้ระวังสารฮอร์โมนเร่งโตในสัตว์ปีก และไม่ควรกินปีกไก่มากเกินไป เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์: ตำรวจฝรั่งเศสทำร้ายลูกค้าในห้างที่ไม่มีวัคซีนพาสปอร์ต จริงหรือ?

ผู้หญิงสองคนที่ถูกตำรวจจับกุมตัวในห้างไม่ใช่ลูกค้าแต่เป็นกลุ่มผู้ประท้วงต่อต้านวัคซีนโควิด 19

ชัวร์ก่อนแชร์ : ความเชื่อเรื่องต้อหินจริงหรือ ?

บนโซเชียลแชร์เตือนเกี่ยวกับความเชื่อเรื่องโรคต้อหิน เช่น ต้อหินเกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์มาก ต้อหินเป็นโรคของคนอายุมาก เรื่องนี้จริงหรือไม่ ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : สูตรลดน้ำหนัก ดีท็อกซ์ลำไส้ด้วยน้ำส้มสายชู-โยเกิร์ต น้ำอัดลม จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์สูตรลดน้ำหนักโดยใช้น้ำส้มสายชู นมเปรี้ยว และน้ำอัดลม ผสมกันวางทิ้งไว้ครึ่งชั่วโมง แล้วดื่มแทนน้ำเปล่า ช่วยดีท็อกซ์ลำไส้กลิ่นตัวหาย แก้ท้องผูก เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : อาหารที่ผู้ป่วยโรคแพนิกควรเลือก-ควรเลี่ยง จริงหรือ ?

2 กุมภาพันธ์ 2567 บนโซเชียลแชร์บทความ อาหารกับผู้ป่วยแพนิก เช่น 4 อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เพราะทำให้อาการกำเริบ และ 6 อาหารที่ควรเลือกกิน เพื่อช่วยลดการเกิดโรคแพนิก บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.มาโนช หล่อตระกูล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ : 21 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์: FDA ปกปิดความปลอดภัยวัคซีน Pfizer พบฉีดแล้วตายนับพัน จริงหรือ?

ข้อมูลวัคซีน Pfizer ที่ FDA เปิดเผยไม่อาจใช้เป็นหลักฐานด้อยค่าวัคซีนได้ เนื่องจากยังไม่มีการยืนยันว่าการเสียชีวิตและอาการข้างเคียงทั้งหมดมีสาเหตุจากวัคซีน

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดวิธีบำรุงสมอง จริงหรือ ?

13 มีนาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์เกี่ยวกับวิธีบำรุงสมองเอาไว้มากมาย ทั้งนอนห้อยหัว แลบลิ้น ช่วยป้องกันสมองเสื่อม และการดื่มกาแฟ ดื่มโกโก้ จะทำให้สมองดีขึ้นได้ ?! เรื่องไหนจริง เรื่องไหนเท็จ พบคำตอบได้ที่ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST ร้อยเรียงเรื่องฮิต ติดอันดับจากชัวร์ก่อนแชร์ อันดับที่ 1 : ดื่มโกโก้ช่วยบำรุงสมอง จริงหรือ ? มีการแชร์ข้อความบอกว่าวิธีบำรุงสมองและความจำด้วยการรับประทานโกโก้ทุกวันนั้น ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ :  ดร.สุดาทิพย์ แซ่ตั้น อาจารย์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ม.เกษตรศาสตร์ ศ.นพ.นิพนธ์ พวงวรินทร์ ราชบัณฑิต แพทย์ผู้เชี่ยวชาญประสาทวิทยา บทสรุป : จริง แชร์ได้ ✅ การกินโกโก้จะได้ประโยชน์สูงสุด ไม่ควรผสมนม ศ.นพ.นิพนธ์ พวงวรินทร์ ซึ่งเป็นผู้แนะนำให้ดื่มโกโก้ร้อนเพื่อบำรุงสมอง ระบุงานวิจัยของมหาวิทยาลัยในประเทศอังกฤษรองรับว่าการดื่มโกโก้วันละ 2 ช้อนโต๊ะ หรือ 1,000 มิลลิกรัม วันละครั้งทุกวันจะช่วยบำรุงสมอง จากการทดลองต้วยตนเองพบว่าเซลล์สมองทำงานดีขึ้น ไม่ซึมเศร้า […]

FACT-CHECK | ตรวจสอบข้อเท็จจริง

SureVac💉 | เสริมสร้างภูมิคุ้มกันข่าวปลอมเรื่องวัคซีนโควิด-19

ชัวร์ก่อนแชร์: ไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ทำให้ตับอักเสบ จริงหรือ?

ไวรัสโควิด-19 มีผลในการทำลายปอดเท่านั้น แต่ความเสียหายของปอดอาจส่งผลเสียต่ออวัยวะภายในอื่นๆ เช่นตับ ไต และหัวใจ

ชัวร์ก่อนแชร์: โควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ระบาดในจีน ทำให้ปอดกลายเป็นสีขาว จริงหรือ?

ฝ้าจางชนิด GGO ที่ปอด สามารถเกิดได้จากการติดเชื้อชนิดต่างๆ ไม่จำเป็นต้องเป็นโควิด-19 เสมอไป

ชัวร์ก่อนแชร์: “ปูติน” สั่งทําลายสต็อกวัคซีนโควิด-19 ทั้งหมดในรัสเซีย จริงหรือ?

สำนักข่าวในรัสเซียรายงานข่าวการส่งมอบวัคซีน Sputnik V ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ในประเทศให้มากขึ้น

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ทำให้เป็นโรคหัวใจ จริงหรือ?

ผู้ที่เกิดอาการโรคหัวใจกำเริบ ได้รับการยืนยันว่ายังไม่ได้รับวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ พบว่าเคยฉีดวัคซีนโควิด-19 ครั้งสุดท้ายเมื่อ 1 ปีก่อน อาการป่วยจึงไม่มีความสัมพันธ์กับวัคซีนโควิด-19 แต่อย่างใด

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ทำให้เสี่ยงติดโควิด-19 ยิ่งกว่าเดิม จริงหรือ?

งานวิจัยพบว่าวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ป้องกันการติดเชื้อได้เพียง 30% แต่ไม่ได้ระบุว่าวัคซีนทำให้เสี่ยงติดเชื้อมากขึ้น เป็นผลวิจัยที่ทดลองกับบุคลากรทางการแพทย์ ไม่อาจใช้อ้างอิงกับประชากรทั่วไปได้

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀 | รู้ทันข่าวใหม่ในโลกไซเบอร์

วิเคราะห์เทรนด์สื่อออนไลน์ สะท้อนพฤติกรรมผู้เสพสื่อในปัจจุบัน | ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀

23 เมษายน 2566 กรุงเทพฯ  – 23 เมษายน 2566 — กองทุนสื่อฯ ร่วมกับ Wisesight จัดประชุมเสวนาออนไลน์ วิเคราะห์ผลการศึกษาการสื่อสารในโลกออนไลน์ของสังคมไทยในปี 2565 และแนวโน้มทิศทางในปีถัดไป ภายใต้หัวข้อ “จาก Trend ในโลกออนไลน์ปี 65 สู่การวิเคราะห์ทิศทางการสื่อสารออนไลน์ ปี 66” ในปัจจุบันข้อมูลในโลกออนไลน์มีความสำคัญ และถูกใช้ต่อยอดในสื่อหลักมากขึ้น จนเรียกได้ว่าสื่อออนไลน์กลายเป็นสื่อกระแสหลักแทนที่สื่อหลักเดิม ซึ่งความเปลี่ยนแปลงที่ตามมาคือ สื่อจะขับเคลื่อนด้วยการค้ามากขึ้น เช่น ต้องการจำนวนยอดไลก์ จำนวนคลิกเบตเพื่อหวังรายได้ จึงเห็นได้ว่า สื่อในยุคปัจจุบันการพาดหัวให้ดึงดูด หรือทำให้ผู้เสพสื่อมีอารมณ์ร่วมเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมาก แต่ในขณะเดียวกันการใช้ข้อมูลหลักจากโลกออนไลน์ ก็ส่งผลต่อคุณภาพของสื่อที่ลดลงเช่นกัน ดร. ธนกร ศรีสุขใส ผู้จัดการกองทุนสื่อฯ กล่าวว่า “Digital Society ทำให้ทุกคนเป็นสื่อ เราไม่ได้เป็นเพียงผู้รับอย่างเดียว” ซึ่งผู้ใช้สื่อออนไลน์ในปัจจุบัน มีความเป็น Smart Consumer คือจะปกป้อง และให้ความสำคัญกับสิทธิของตัวเองมากขึ้น อีกทั้งยังมีการแสดงออกทางความคิดอย่างเปิดเผย โดย Wisesight […]

Whoscall เผยคนไทยเบอร์โทรรั่ว 13 ล้านเบอร์ เป็นอันดับ 4 รองจากมาเลเซีย ไต้หวัน ญี่ปุ่น l ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀 

กรุงเทพฯ 31 มี.ค. 66 – Whoscall แอปพลิเคชันระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก และป้องกันสแปมสำหรับสมาร์ทโฟน เปิดผลรายงานประจำปี พบว่า  มีการหลอกลวงทั้งจากสายโทรเข้า และข้อความ SMS รวม 405.4 ล้านครั้ง ทั่วโลก แม้ว่าตัวเลขโดยรวมจะลดลง จากปีที่แล้ว แต่สำหรับประเทศไทยการหลอกลวงยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่ง คนไทยยังต้องรับสายจากมิจฉาชีพเพิ่มขึ้น 165% หรือ 17 ล้านครั้งในปี 2565 รายงานยังเผยสถิติที่น่าตกใจ ถึงจำนวนการรั่วไหลของเบอร์โทรศัพท์ในประเทศไทยกว่า 45% หรือ 13.5 ล้านเบอร์  การรั่วไหลของเบอร์โทรศัพท์เป็นปัญหาสำคัญทั่วโลก รวมถึงการหลอกลวงทางข้อความ SMS ยังคงระบาดอย่างต่อเนื่อง   สารพัดกลอุบายหลอกให้เหยื่อหลงเชื่อ มิจฉาชีพนิยมส่งข้อความหลอกลวง เนื่องจากสามารถเข้าถึงเหยื่อจำนวนมากด้วยต้นทุนต่ำ ข้อความ SMS ถูกใช้เป็นเครื่องมือเพื่อ “ติดต่อครั้งแรก” โดยหลอกให้เหยื่อกดลิงก์ฟิชชิ่ง เพื่อขโมยข้อมูลส่วนตัว เพิ่มบัญชีไลน์ เพื่อหลอกให้ส่งข้อมูล หรือโอนเงินให้ กลอุบายที่พบบ่อย ได้แก่ การเสนอเงินกู้โดยมักอ้างรัฐบาล หรือธนาคาร  และการให้สิทธิ์เข้าตรงเว็บพนันออนไลน์ ที่ผิดกฎหมาย  คีย์เวิร์ดของข้อความหลอกลวงที่ถูกรายงาน […]

สำรวจพบบริษัทไทย 1 ใน 4 พร้อมสู้ภัยไซเบอร์ สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลก | ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀

22 มีนาคม 2566 กรุงเทพฯ  – 22 มีนาคม 2566 — จากผลสำรวจพบ  27% ขององค์กรในประเทศไทยมีความพร้อมในระดับ ‘มีความพร้อมอย่างเต็มที่’ ในการรับมือกับภัยคุกคามทางไซเบอร์สมัยใหม่ ตามรายงานดัชนีความพร้อมด้านไซเบอร์ซีเคียวริตี้ ของซิสโก้ จากผลสำรวจสะท้อนให้เห็นว่าทุกองค์กรสามารถดำเนินงานได้เป็นอย่างดีและมีความพร้อมสำหรับความปลอดภัยทางไซเบอร์มากขึ้น  รายงานดัชนีความพร้อมด้านไซเบอร์ซีเคียวริตี้ของซิสโก้: ความยืดหยุ่นในโลกไฮบริดรายงานดัชนีความพร้อมด้านไซเบอร์ซีเคียวริตี้ของซิสโก้ : ความยืดหยุ่นในโลกไฮบริด (Cisco Cybersecurity Readiness Index : Resilience in a Hybrid World) ได้ศึกษาความพร้อมของบริษัทต่าง ๆ ที่ได้เปลี่ยนรูปแบบการดำเนินงานแบบอยู่กับที่ ซึ่งบุคลากรทำงานโดยใช้อุปกรณ์เครื่องเดียวในสถานที่ตั้งแห่งเดียว เชื่อมต่อกับเครือข่ายที่คงที่ตายตัว ไปสู่โลกไฮบริดที่พนักงานทำงานจากอุปกรณ์หลายเครื่องในหลากหลายสถานที่มากขึ้น โดยเชื่อมต่อกับหลาย ๆ เครือข่าย พร้อมทั้งสามารถเข้าถึงแอปพลิเคชันบนระบบคลาวด์ได้ในขณะเดินทาง และสร้างข้อมูลจำนวนมหาศาล ความเปลี่ยนแปลงนี้ก่อให้เกิดปัญหาท้าทายในด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์กับบริษัทต่าง ๆ การสำรวจในครั้งนี้เป็นการสำรวจความเห็นแบบปกปิดสองทาง (double-blind) ดำเนินการโดยองค์กรอิสระ โดยสัมภาษณ์ผู้บริหารฝ่ายไซเบอร์ซีเคียวริตี้ในภาคเอกชน 6,700 คนใน 27 ประเทศ เกี่ยวกับการปรับใช้โซลูชั่น และระดับของการปรับใช้ โดยบริษัทต่าง […]

เปิดวิธีลงทะเบียน! รับสิทธิลดค่าไฟ-ค่าน้ำ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ รอบใหม่ |ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀

20 มีนาคม 2566 ผู้ที่ผ่านการยืนยันตัวตนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565 รอบใหม่จะต้องลงทะเบียนเพื่อรับสิทธิบรรเทาภาระค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปาใหม่ทุกคน โดยสามารถลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2566 เป็นต้นไป กรุงเทพฯ 20 มี.ค. 66 – ในวันที่ 15 มีนาคม 2566 นางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยข้อมูลจากกระทรวงการคลังว่า มีผู้ที่ยืนยันตัวตนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐสำเร็จ จำนวน 8,948,121 คน มีผู้ยื่นอุทธรณ์ผลการพิจารณาคุณสมบัติ จำนวน 1,014,730 คน ทั้งนี้ ขอให้ผู้ที่ยืนยันตัวตนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ไปลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมมาตรการบรรเทาภาระค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปา ซึ่งต้องลงทะเบียนขอรับสิทธิใหม่ทุกคน มีเงื่อนไขให้รับสิทธิได้ 1 ครัวเรือนต่อ 1 สิทธิต่อ 1 รหัสประจำบ้าน กล่าวคือ สามารถลงทะเบียนรับสิทธิค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปาได้เพียง 1 หน่วยงาน โดยสามารถลงทะเบียนได้แล้วตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2566 เป็นต้นไป วิธีการรับสิทธิบรรเทาภาระค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปา เงื่อนไขการรับสิทธิ *หมายเหตุ : […]

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀 : สมาคมธนาคาร-สถาบันการเงิน พร้อมร่วมมือ ธปท. คุมเข้มป้องกันหลอกโอนเงิน

สมาคมธนาคารไทยและสมาคมสถาบันการเงินของรัฐ แถลงยืนยันพร้อมปฏิบัติตามมาตรการจัดการภัยทุจริตทางการเงินของ ธปท. โดยจะทยอยปรับเปลี่ยนการบริการต่าง ๆ ให้เป็นไปตามมาตรการภายในกรอบเวลา ยืนยันการจัดเก็บข้อมูลใบหน้าเพื่อยืนยันตัวตนจะอยู่ภายใต้กฎหมายและการรักษาความลับลูกค้า กรุงเทพฯ 10 มี.ค. 66 – สมาคมธนาคารไทย และ สมาคมสถาบันการเงินของรัฐ แถลงข่าวร่วมกับ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ยืนยันความพร้อมดำเนินมาตรการจัดการภัยทุจริตทางการเงิน ทั้งการป้องกัน การตรวจจับ และการตอบสนองและรับมือ โดย น.ส.สิริธิดา พนมวัน ณ อยุธยา ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายกำกับระบบการชำระเงินและคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ธปท. กล่าวว่า “ได้เชิญผู้บริหารของสถาบันการเงินเข้าร่วมประชุมหารือและกำชับให้สถาบันการเงินทุกแห่งเร่งดำเนินการตามมาตรการดังกล่าว และเตรียมความพร้อมรองรับการดำเนินงานตาม พ.ร.ก. มาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ซึ่งได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากสถาบันการเงินทุกแห่ง” สำหรับมาตรการจัดการภัยทุจริตทางการเงิน ของ ธปท.จะแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ 1. ด้านการป้องกัน เพื่อปิดช่องทางที่มิจฉาชีพจะเข้าถึงประชาชน โดยการยกเลิกส่งลิงก์ทุกประเภทผ่าน SMS อีเมล และงดส่งลิงก์ขอข้อมูลสำคัญ จำกัดบัญชีผู้ใช้งาน Mobile Banking ของแต่ละสถาบันการเงิน ใช้ได้แค่ 1 […]

[เพิ่ม 4 ธนาคาร] รวม 12 ธนาคาร เปิดศูนย์รับแจ้งเหตุมิจฉาชีพ โทรได้ 24 ชั่วโมง ! | ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀

เสาวภาคย์ รัตนพงศ์, พีรพล อนุตรโสตถิ์, สุวัชรียา จันทร์บัวอัปเดตเมื่อ 11 มีนาคม 2566 จากปัญหาการหลอกลวงของแก๊งมิจฉาชีพที่สร้างความเดือดร้อนให้ประชาชนอย่างต่อเนื่อง เมื่อ 3 มีนาคม 2566 น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ตามที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหมได้กำชับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งประสานความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหามิจฉาชีพหลอกหลวงประชาชนผ่านช่องทางออนไลน์ มีการโอนเงินออกจากบัญชีผ่านแอปพลิเคชันของธนาคารจนเกิดความเสียหายเป็นวงกว้าง กระทรวงการคลัง กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ทำงานร่วมกับสมาคมธนาคารไทยและธนาคารของรัฐอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันปัญหาและบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดแก่ประชาชน ธนาคารพาณิชย์และธนาคารเฉพาะกิจรวม 8 แห่ง ได้เปิดศูนย์รับแจ้งเหตุภัยทางการเงินจากมิจฉาชีพของธนาคาร เพื่อเป็นช่องทางให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ หรือตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพโทรแจ้งเหตุ ได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อสกัดกั้นความเสียหายให้เร็วที่สุด  ธนาคารกสิกรไทย 0-2888-8888 กด 001 ธนาคารกรุงไทย  0-2111-1111 กด 108 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา  1572 กด 5 ธนาคารกรุงเทพ  1333 หรือ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST

FACTINFOcus

CAPTION แสดงรูปพร้อมคำบรรยายด้านล่าง

CARD แสดงรูปด้านบน ข้อความด้านล่าง

ชัวร์ก่อนแชร์: ไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ทำให้ตับอักเสบ จริงหรือ?

ไวรัสโควิด-19 มีผลในการทำลายปอดเท่านั้น แต่ความเสียหายของปอดอาจส่งผลเสียต่ออวัยวะภายในอื่นๆ เช่นตับ ไต และหัวใจ

ชัวร์ก่อนแชร์: โควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ระบาดในจีน ทำให้ปอดกลายเป็นสีขาว จริงหรือ?

ฝ้าจางชนิด GGO ที่ปอด สามารถเกิดได้จากการติดเชื้อชนิดต่างๆ ไม่จำเป็นต้องเป็นโควิด-19 เสมอไป

ชัวร์ก่อนแชร์: “ปูติน” สั่งทําลายสต็อกวัคซีนโควิด-19 ทั้งหมดในรัสเซีย จริงหรือ?

สำนักข่าวในรัสเซียรายงานข่าวการส่งมอบวัคซีน Sputnik V ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ในประเทศให้มากขึ้น

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ทำให้เป็นโรคหัวใจ จริงหรือ?

ผู้ที่เกิดอาการโรคหัวใจกำเริบ ได้รับการยืนยันว่ายังไม่ได้รับวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ พบว่าเคยฉีดวัคซีนโควิด-19 ครั้งสุดท้ายเมื่อ 1 ปีก่อน อาการป่วยจึงไม่มีความสัมพันธ์กับวัคซีนโควิด-19 แต่อย่างใด

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ทำให้เสี่ยงติดโควิด-19 ยิ่งกว่าเดิม จริงหรือ?

งานวิจัยพบว่าวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ป้องกันการติดเชื้อได้เพียง 30% แต่ไม่ได้ระบุว่าวัคซีนทำให้เสี่ยงติดเชื้อมากขึ้น เป็นผลวิจัยที่ทดลองกับบุคลากรทางการแพทย์ ไม่อาจใช้อ้างอิงกับประชากรทั่วไปได้

ชัวร์ก่อนแชร์: ฉีดวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์เสี่ยงหลอดเลือดสมองอุดตันเพิ่ม 47% จริงหรือ?

ข้อมูลล่าสุดของ CDC ยืนยันว่าความเสี่ยงการป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดตันของผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์แทบไม่แตกต่างจากกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้น

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิดสูตร 2 สายพันธุ์ทำให้ผู้สูงอายุเสี่ยงหลอดเลือดสมองอุดตัน จริงหรือ?

หลอดเลือดสมองอุดตันหลังฉีดวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์เป็นรายงานที่สร้างความหวาดกลัวเกินจริง เพราะไม่พบอาการดังกล่าวในหน่วยงานด้านการติดตามความปลอดภัยของยาอื่น ๆ นอกจาก Vaccine Safety Datalink

ชัวร์ก่อนแชร์: ชาวออสซี่ตายด้วยโรคหัวใจเพิ่มขึ้น 17% เพราะวัคซีนโควิด จริงหรือ?

ผู้เชี่ยวชาญชี้ว่าสาเหตุที่ชาวออสเตรเลียเสียชีวิตจากโรคหัวใจเพิ่มขึ้นในปี 2022 เพราะการระบาดของไวรัสโควิด-19 ทำให้คนเสี่ยงเป็นโรคหัวใจเพิ่มขึ้น

ชัวร์ก่อนแชร์: คนหนุ่มสาวตายมากขึ้นในปี 2021-2022 เพราะวัคซีน จริงหรือ?

มีหลักฐานมากมายยืนยันว่าการเสียชีวิตส่วนเกินในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา มีสาเหตุจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ไม่ใช่วัคซีนตามที่กล่าวอ้าง

HEADLINE แสดงชื่อเรื่องตรงกลาง รูปพื้นหลัง เหมาะกับสไลเดอร์ หากใช้ปลั๊กอิน ACF จะปรับเพิ่มได้

HERO แสดงรูปขนาดใหญ่ด้านซ้าย ข้อความด้านขวา

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : แมลงวัน

21 พฤศจิกายน 2567 – ทำไมแมลงวันเข้ามาในบ้าน เมื่อแมลงวันตอมอาหารยังกินต่อได้หรือไม่ แมลงวันจะแพร่เชื้อสู่คนได้อย่างไร และจะมีวิธีการจัดการกับแมลงวันด้วยวิธีไหน ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.รัชฎาวรรณ เงินกลั่น รองหัวหน้าศูนย์วิจัยและเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านกีฏวิทยาชุมชนและสิ่งแวดล้อม และ อาจารย์ประจำ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัมภาษณ์เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

Chayanit

22/11/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : HURDLESO IFRUNGS ? — เทคนิคคนร้าย อันตรายเพียงแอบมอง !

16 พฤศจิกายน 2567 – สิ่งนี้…เป็นกลอุบายการขโมยข้อมูลส่วนตัวทุกรูปแบบ ผ่านการสังเกตโดยตรง และ สิ่งนี้ …มักเกิดขึ้นในที่สาธารณะ ที่ใกล้ตัวจนอาจคาดไม่ถึง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 28 สิงหาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

Chayanit

21/11/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : อันตรายและการป้องกันไข้เลือดออก

17 พฤศจิกายน 2567 – ไข้เลือดออกเป็นซ้ำแล้วเสี่ยงเสียชีวิตจริงหรือไม่ และเราควรป้องกันไข้เลือดออกด้วยวิธีใดจึงจะดีที่สุด ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 22 ตุลาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

Chayanit

21/11/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดสูตรล้างลำไส้ จริงหรือ ?

20 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์สารพัดสูตรล้างลำไส้ ทั้งการกินน้ำส้มสาย ผสมด้วยน้ำอัดลมและโยเกิร์ต ช่วยให้ลำไส้สะอาด และหากท้องผูก ให้ดื่มน้ำผึ้ง น้ำมะขาม ช่วยแก้อาการท้องผูกได้ ?! 🎯 ตรวจสอบกับ อชิรญา คำจันทร์ศุภสิน นักปฏิบัติการวิจัย สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อาจารย์ นายแพทย์ ปิยะพันธ์ พฤกษพานิช หน่วยโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.อมรรัตน์ อรุณนวล ภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ศ.นพ.ประวิตร อัศวานนท์ หัวหน้าสาขาวิชาตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม หลักสูตรพิษวิทยาฯ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

Chayanit

21/11/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : รู้จัก ระบบเบรกรถยนต์

19 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับระบบเบรกของรถยนต์ว่า มีหน้าที่อย่างไร แบ่งเป็นกี่รูปแบบ และมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันอย่างไร ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญใน ชัวร์ก่อนแชร์ MOTOR CHECK กับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ สุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 25 ตุลาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

Chayanit

20/11/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ : ระวังขนมเค้กยัดยาทำให้เป็นอัมพาต จริงหรือ ?

ตามที่มีการแชร์คลิป พร้อมข้อความเตือน ระวังขนมเค้กที่ผลิตในอิสราเอลและส่งออกไปยังประเทศอาหรับ มียาเม็ดทำให้เป็นอัมพาต นั้น ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบพบว่า เว็บไซต์ตรวจสอบข้อเท็จจริงของตุรกี Teyit ได้ตรวจสอบ พบคลิปวิดีโอต้นฉบับเผยแพร่บน youtube ตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2562 และคาดว่าวิดีโอดังกล่าวน่าจะถ่ายทำที่เคอร์ดิสถานทางตอนเหนือของอิรัก เนื่องจากตอนท้ายคลิปมีการใช้ภาษาโซรานี ซึ่งเป็นภาษาเคิร์ด และยี่ห้อไก่ “As Piliç” ที่อยู่ในตู้เย็น จำหน่ายอย่างแพร่หลายในภูมิภาคนั้น รวมถึงได้ตั้งข้อสังเกตว่า ขนมเค้กในวิดีโอมีร่องรอยของการถูกเจาะ สำหรับคลิปวิดิโอที่แชร์กันนั้น แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ามีความเป็นจริงมากเพียงใด หรือมีการหลอกลวงมากเพียงใด แต่หากมองในแง่โอกาสการจงใจสร้างวิดีโอเพื่อให้เกิดความตื่นตระหนก ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทำ อาจจะใช้วิธีเปิดห่อขนมอีกด้านหนึ่ง เพื่อกดเม็ดยาเข้าไปในขนม จากนั้นปิดห่อกลับให้คล้ายเดิมแล้ววางไว้ใต้ขนมห่ออื่น และเมื่อถ่ายทำ ก็จงใจหยิบห่อที่ได้ดัดแปลงนั้นมาฉีกดู นอกจากนั้น หากมียาเม็ดในขนมเค้กที่มีลักษณะนุ่ม และวางขายเป็นอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวางระดับประเทศ เป็นไปได้ยากที่จะมีคลิปวิดีโอเพียงคลิปเดียว หรือขนมห่อเดียวถูกค้นพบ ขณะที่เว็บไซต์ตรวจสอบข้อเท็จจริงอย่าง snopes และ factly.in ก็ยืนยันในทางเดียวกันว่า ไม่จริงและไม่มีหลักฐานยืนยันว่ายาที่อยู่ในขนมนั้นทำให้เป็นอัมพาตได้ ในทางการแพทย์ ยาไม่สามารถทำให้เกิดโรคสมองพิการในเด็กหรือผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรง ด้านโฆษกบริษัทผู้ผลิตขนมเค้ก Luppo ได้ออกประกาศยืนยันว่า โรงงานมีกระบวนการผลิตที่มีความปลอดภัย ใช้เครื่องจักรทุกขั้นตอน ปราศจากการสัมผัสด้วยมือของมนุษย์ […]

Saowapak Rattanapong

17/11/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดข้อห้ามและวิธีสังเกตอาการแมว จริงหรือ ?

13 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์สารพัดข้อห้ามและวิธีสังเกตอาการแมว ทั้งหนวดแมวห้ามตัด เพราะแมวใช้หนวดในการวัดระยะ รวมถึงอาเจียนและปัสสาวะของแมวนั้นบ่งบอกอาการบาดเจ็บของแมวได้ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.สพ.ญ.ดร.รสมา ภู่สุนทรธรรม หัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.น.สพ.ดร.สถาพร จิตตปาลพงศ์ คณบดีคณะเทคนิคการสัตวแพทย์ ม.เกษตรศาสตร์ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

Chayanit

14/11/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : สิ่งที่สามารถใช้แทนน้ำยาล้างรถได้ จริงหรือ ?

12 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์ สิ่งของที่สามารถใช้แทนน้ำยาล้างรถได้ เช่น น้ำยาล้างจาน และ แชมพูสระผม เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามได้ใน ซีรีส์ ชัวร์ก่อนแชร์ มอเตอร์เช็ก กับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.ดร ณัฐชา เพ็ชร์ยิ้ม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมีและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สัมภาษณ์เมื่อ 17 กันยายน 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

Chayanit

13/11/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปวดหัว ยิ่งกินยา ยิ่งติดยา จริงหรือ ?

11 พฤศจิกายน 2567 – ปวดหัวแค่ไหน ถึงควรใช้ยา จริงหรือไม่ ยิ่งปวดหัว ยิ่งกินยา ยิ่งติดยา และทำให้ยิ่งปวดหัวกว่าเดิม 🎯 ตรวจสอบกับ อ.นพ.ประกิต อนุกูลวิทยา อายุรแพทย์โรคระบบประสาท คลินิกโรคปวดศีรษะ สาขาวิชาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย กรรมการชมรมศึกษาโรคปวดศีรษะ ภายใต้สมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 24 ตุลาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

Chayanit

12/11/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : สายตายาวตามวัย

8 พฤศจิกายน 2567 – สายตายาวตามอายุจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ เราจะแก้ไข หรือชะลอปัญหาสายตายาวได้ยังไงบ้าง ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 22 ตุลาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

Chayanit

11/11/2567

LIST แสดงรูปด้านซ้าย ข้อความด้านขวา

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : แมลงวัน

21 พฤศจิกายน 2567 – ทำไมแมลงวันเข้ามาในบ้าน เมื่อแมลงวันตอมอาหารยังกินต่อได้หรือไม่ แมลงวันจะแพร่เชื้อสู่คนได้อย่างไร และจะมีวิธีการจัดการกับแมลงวันด้วยวิธีไหน ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.รัชฎาวรรณ เงินกลั่น รองหัวหน้าศูนย์วิจัยและเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านกีฏวิทยาชุมชนและสิ่งแวดล้อม และ อาจารย์ประจำ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัมภาษณ์เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : HURDLESO IFRUNGS ? — เทคนิคคนร้าย อันตรายเพียงแอบมอง !

16 พฤศจิกายน 2567 – สิ่งนี้…เป็นกลอุบายการขโมยข้อมูลส่วนตัวทุกรูปแบบ ผ่านการสังเกตโดยตรง และ สิ่งนี้ …มักเกิดขึ้นในที่สาธารณะ ที่ใกล้ตัวจนอาจคาดไม่ถึง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 28 สิงหาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : อันตรายและการป้องกันไข้เลือดออก

17 พฤศจิกายน 2567 – ไข้เลือดออกเป็นซ้ำแล้วเสี่ยงเสียชีวิตจริงหรือไม่ และเราควรป้องกันไข้เลือดออกด้วยวิธีใดจึงจะดีที่สุด ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 22 ตุลาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดสูตรล้างลำไส้ จริงหรือ ?

20 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์สารพัดสูตรล้างลำไส้ ทั้งการกินน้ำส้มสาย ผสมด้วยน้ำอัดลมและโยเกิร์ต ช่วยให้ลำไส้สะอาด และหากท้องผูก ให้ดื่มน้ำผึ้ง น้ำมะขาม ช่วยแก้อาการท้องผูกได้ ?! 🎯 ตรวจสอบกับ อชิรญา คำจันทร์ศุภสิน นักปฏิบัติการวิจัย สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อาจารย์ นายแพทย์ ปิยะพันธ์ พฤกษพานิช หน่วยโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.อมรรัตน์ อรุณนวล ภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ศ.นพ.ประวิตร อัศวานนท์ หัวหน้าสาขาวิชาตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม หลักสูตรพิษวิทยาฯ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : รู้จัก ระบบเบรกรถยนต์

19 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับระบบเบรกของรถยนต์ว่า มีหน้าที่อย่างไร แบ่งเป็นกี่รูปแบบ และมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันอย่างไร ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญใน ชัวร์ก่อนแชร์ MOTOR CHECK กับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ สุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 25 ตุลาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ : ระวังขนมเค้กยัดยาทำให้เป็นอัมพาต จริงหรือ ?

ตามที่มีการแชร์คลิป พร้อมข้อความเตือน ระวังขนมเค้กที่ผลิตในอิสราเอลและส่งออกไปยังประเทศอาหรับ มียาเม็ดทำให้เป็นอัมพาต นั้น ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบพบว่า เว็บไซต์ตรวจสอบข้อเท็จจริงของตุรกี Teyit ได้ตรวจสอบ พบคลิปวิดีโอต้นฉบับเผยแพร่บน youtube ตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2562 และคาดว่าวิดีโอดังกล่าวน่าจะถ่ายทำที่เคอร์ดิสถานทางตอนเหนือของอิรัก เนื่องจากตอนท้ายคลิปมีการใช้ภาษาโซรานี ซึ่งเป็นภาษาเคิร์ด และยี่ห้อไก่ “As Piliç” ที่อยู่ในตู้เย็น จำหน่ายอย่างแพร่หลายในภูมิภาคนั้น รวมถึงได้ตั้งข้อสังเกตว่า ขนมเค้กในวิดีโอมีร่องรอยของการถูกเจาะ สำหรับคลิปวิดิโอที่แชร์กันนั้น แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ามีความเป็นจริงมากเพียงใด หรือมีการหลอกลวงมากเพียงใด แต่หากมองในแง่โอกาสการจงใจสร้างวิดีโอเพื่อให้เกิดความตื่นตระหนก ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทำ อาจจะใช้วิธีเปิดห่อขนมอีกด้านหนึ่ง เพื่อกดเม็ดยาเข้าไปในขนม จากนั้นปิดห่อกลับให้คล้ายเดิมแล้ววางไว้ใต้ขนมห่ออื่น และเมื่อถ่ายทำ ก็จงใจหยิบห่อที่ได้ดัดแปลงนั้นมาฉีกดู นอกจากนั้น หากมียาเม็ดในขนมเค้กที่มีลักษณะนุ่ม และวางขายเป็นอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวางระดับประเทศ เป็นไปได้ยากที่จะมีคลิปวิดีโอเพียงคลิปเดียว หรือขนมห่อเดียวถูกค้นพบ ขณะที่เว็บไซต์ตรวจสอบข้อเท็จจริงอย่าง snopes และ factly.in ก็ยืนยันในทางเดียวกันว่า ไม่จริงและไม่มีหลักฐานยืนยันว่ายาที่อยู่ในขนมนั้นทำให้เป็นอัมพาตได้ ในทางการแพทย์ ยาไม่สามารถทำให้เกิดโรคสมองพิการในเด็กหรือผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพแข็งแรง ด้านโฆษกบริษัทผู้ผลิตขนมเค้ก Luppo ได้ออกประกาศยืนยันว่า โรงงานมีกระบวนการผลิตที่มีความปลอดภัย ใช้เครื่องจักรทุกขั้นตอน ปราศจากการสัมผัสด้วยมือของมนุษย์ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดข้อห้ามและวิธีสังเกตอาการแมว จริงหรือ ?

13 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์สารพัดข้อห้ามและวิธีสังเกตอาการแมว ทั้งหนวดแมวห้ามตัด เพราะแมวใช้หนวดในการวัดระยะ รวมถึงอาเจียนและปัสสาวะของแมวนั้นบ่งบอกอาการบาดเจ็บของแมวได้ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.สพ.ญ.ดร.รสมา ภู่สุนทรธรรม หัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.น.สพ.ดร.สถาพร จิตตปาลพงศ์ คณบดีคณะเทคนิคการสัตวแพทย์ ม.เกษตรศาสตร์ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : สิ่งที่สามารถใช้แทนน้ำยาล้างรถได้ จริงหรือ ?

12 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์ สิ่งของที่สามารถใช้แทนน้ำยาล้างรถได้ เช่น น้ำยาล้างจาน และ แชมพูสระผม เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามได้ใน ซีรีส์ ชัวร์ก่อนแชร์ มอเตอร์เช็ก กับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.ดร ณัฐชา เพ็ชร์ยิ้ม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมีและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สัมภาษณ์เมื่อ 17 กันยายน 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปวดหัว ยิ่งกินยา ยิ่งติดยา จริงหรือ ?

11 พฤศจิกายน 2567 – ปวดหัวแค่ไหน ถึงควรใช้ยา จริงหรือไม่ ยิ่งปวดหัว ยิ่งกินยา ยิ่งติดยา และทำให้ยิ่งปวดหัวกว่าเดิม 🎯 ตรวจสอบกับ อ.นพ.ประกิต อนุกูลวิทยา อายุรแพทย์โรคระบบประสาท คลินิกโรคปวดศีรษะ สาขาวิชาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย กรรมการชมรมศึกษาโรคปวดศีรษะ ภายใต้สมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 24 ตุลาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : สายตายาวตามวัย

8 พฤศจิกายน 2567 – สายตายาวตามอายุจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ เราจะแก้ไข หรือชะลอปัญหาสายตายาวได้ยังไงบ้าง ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 22 ตุลาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์