ชัวร์ก่อนแชร์

สู่ปีที่ 9 | สังคมไทย ชัวร์ก่อนแชร์

[เว็บไซต์นี้อยู่ระหว่างการปรับปรุง] เมษายน 2566

กล่องสุ่ม 📦 ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : คำเตือนมิจฉาชีพอ้างเป็นไปรษณีย์ มีจริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์ข้อความเตือนให้ระวังอย่าหลงเชื่อมิจฉาชีพปลอมเป็นไปรษณีย์ โทรศัพท์หลอกขอเลขบัตรประชาชนอ้างนำไปเช็กพัสดุตกค้าง เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์: นิกกี้ มินาจ บอกวัคซีนโควิด ทำให้เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ จริงหรือ?

วงการวิทยาศาสตร์ต่างยืนยันว่า ไม่มีหลักฐานที่วัคซีนโควิด 19 จะส่งผลต่อการเจริญพันธุ์หรือสมรรถภาพทางเพศทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย

ชัวร์ก่อนแชร์ แห่งปี 2561

หลากหลายเรื่องราวบนโลกโซเชียลที่ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท ติดตามเฝ้าระวังและตรวจสอบตลอดทั้งปี 2561 ที่ผ่านมา สะท้อนความเป็นไปในสังคมไทยอย่างไร ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : เสียงดังในหูเกิดจากไตอ่อนแอ จริงหรือ ?

28 พฤษภาคม 2566 – จากกรณีมีการแชร์เรื่องราวว่า เสียงดังในหูมีสาเหตุจากอาการไตอ่อนแอ แนะนำให้บำรุงไต เพื่อช่วยให้อาการหูมีเสียงดีขึ้นนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ตรวจสอบกับ ผศ.พญ.ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล อาจารย์สาขาวิชาโรคหู โสตประสาท การได้ยินและการทรงตัว ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ระบุว่า เสียงดังในหูไม่ได้เกิดจากไตอ่อนแอแต่อย่างใด แต่หากผู้ป่วยมีภาวะไตวายหรือไตทำงานผิดปกติ อาจจะทำให้เกิดเสียงดังในหูได้ เนื่องจากมีของเสียคั่งอยู่ในร่างกาย อย่างไรก็ตาม โครงสร้างของไตกับหูมีความคล้ายกันสามารถกรองของเสียได้เหมือนกัน ในผู้ป่วยไตวายจะมีภาวะประสาทหูเสื่อมค่อนข้างเร็ว และส่วนใหญ่จะได้ยิน 2 ข้าง ผู้ป่วยไตวายประสาทหูเสื่อมเร็วขึ้นนั้น เนื่องจากว่ามีของเสียคั่งอยู่ในร่างกายและมีผลต่อระบบเลือดทั้งหมด แต่หากรับประทานยาตามที่แพทย์สั่ง และควบคุมอาการของไตได้ดี ประสาทหูก็จะเสื่อมตามอายุปกติ ส่วนการกินอาหารบำรุงไต เพื่อบำรุงหูนั้น จริง ๆ แล้วไม่เกี่ยวกัน เป็นอวัยวะคนละส่วนกัน หากผู้ป่วยมีความกังวลใจไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง นอกจากนั้นควรรับประทานยาตามคำแนะนำของแพทย์ และมาตรวจติดตามผลการรักษาเป็นประจำจะดีกว่า สัมภาษณ์เมื่อ 15 มีนาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย […]

ชัวร์ก่อนแชร์ : อาหารที่กินแล้ว…ทำให้โง่ จริงหรือ ?

บนสังคมออนไลน์แชร์เตือนว่า มีอาหารบางประเภทที่กินแล้วจะทำให้ “โง่” เรื่องนี้จริงหรือไม่ ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : เตือนซื้อมือถือใหม่ ระวังไม่รองรับ 5G จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์ว่า ใครจะหาซื้อมือถือใหม่ก่อนต้นปีหน้า ควรดูคุณสมบัติของเครื่องให้ดี เนื่องจากกำลังจะมีบริการ 5G เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : เตือนโรคท้องเสียจาก Rota Virus ระบาดในผู้สูงอายุ จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์ข้อความเตือนให้ระวังโรคท้องเสียอันเกิดจาก “Rota Virus” กำลังระบาดในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : สูตรโบราณทะลวงหลอดเลือด จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์แนะวิธีทะลวงหลอดเลือด ด้วยการรับประทานสูตรส่วนผสมของมะนาว ขิง กระเทียม และน้ำส้มสายชูแอปเปิ้ล เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามกับศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : SLEEP TEXTING – โรคยอดฮิต ของคนติดแชต

6 เมษายน 2567 สิ่งนี้…เป็นอาการคลั่งแชต ที่เกิดจากการใช้โซเชียลเน็ตเวิร์กทุกชนิดมากเกินไป และสิ่งนี้… เสี่ยงต่อภัยคุกคามทางสุขภาพ นอนหลับไม่สนิท หรือฝันร้าย คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล SLEEP TEXTING โรคละเมอแชต เป็นพฤติกรรมที่มีการใช้โทรศัพท์ เพื่อตอบข้อความหรือส่งข้อความไปหาผู้อื่นขณะที่กำลังนอนหลับ สาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน รวมไปถึงการติดโซเชียลทุกชนิด ทำให้มุ่งความสนใจไปที่เครื่องมือสื่อสารเหล่านี้แทบจะทุกนาที จนกลายเป็นความวิตกกังวลต่อข้อความที่ถูกส่งมา แม้กระทั่งเวลาจะหลับก็ยังเอามือถือไปจิ้มเล่นเรื่อยเปื่อย และหลับไปพร้อมกับโทรศัพท์ที่ยังคามือหรือวางนิ่งอยู่ข้างตัว ปัญหาที่ตามมาก็คือ ร่างกายจะอ่อนแอจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ทำให้เกิดโรคอ้วน ภาวะซึมเศร้า และอาจส่งผลกระทบในการเรียนหรือการทำงาน อาจารย์แนะนำว่า การเล่นโซเชียลมีเดียควรทำแต่พอดี หากติดมากควรลองอยู่ห่างจากสมาร์ทโฟน ตัดใจปิดมือถือ ปิดเสียง หรือปิดสัญญาณอินเทอร์เน็ตก่อนนอน วิธีนี้จะช่วยให้ห่างไกลจากการละเมอแชต และฟื้นฟูสุขภาพการนอนหลับให้เต็มอิ่ม ตื่นเช้ามาพร้อมความสดชื่น แจ่มใส ร่างกายแข็งแรงขึ้น สัมภาษณ์เมื่อ : 7 มีนาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ […]

FACT-CHECK | ตรวจสอบข้อเท็จจริง

SureVac💉 | เสริมสร้างภูมิคุ้มกันข่าวปลอมเรื่องวัคซีนโควิด-19

ชัวร์ก่อนแชร์: ไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ทำให้ตับอักเสบ จริงหรือ?

ไวรัสโควิด-19 มีผลในการทำลายปอดเท่านั้น แต่ความเสียหายของปอดอาจส่งผลเสียต่ออวัยวะภายในอื่นๆ เช่นตับ ไต และหัวใจ

ชัวร์ก่อนแชร์: โควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ระบาดในจีน ทำให้ปอดกลายเป็นสีขาว จริงหรือ?

ฝ้าจางชนิด GGO ที่ปอด สามารถเกิดได้จากการติดเชื้อชนิดต่างๆ ไม่จำเป็นต้องเป็นโควิด-19 เสมอไป

ชัวร์ก่อนแชร์: “ปูติน” สั่งทําลายสต็อกวัคซีนโควิด-19 ทั้งหมดในรัสเซีย จริงหรือ?

สำนักข่าวในรัสเซียรายงานข่าวการส่งมอบวัคซีน Sputnik V ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ในประเทศให้มากขึ้น

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ทำให้เป็นโรคหัวใจ จริงหรือ?

ผู้ที่เกิดอาการโรคหัวใจกำเริบ ได้รับการยืนยันว่ายังไม่ได้รับวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ พบว่าเคยฉีดวัคซีนโควิด-19 ครั้งสุดท้ายเมื่อ 1 ปีก่อน อาการป่วยจึงไม่มีความสัมพันธ์กับวัคซีนโควิด-19 แต่อย่างใด

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ทำให้เสี่ยงติดโควิด-19 ยิ่งกว่าเดิม จริงหรือ?

งานวิจัยพบว่าวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ป้องกันการติดเชื้อได้เพียง 30% แต่ไม่ได้ระบุว่าวัคซีนทำให้เสี่ยงติดเชื้อมากขึ้น เป็นผลวิจัยที่ทดลองกับบุคลากรทางการแพทย์ ไม่อาจใช้อ้างอิงกับประชากรทั่วไปได้

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀 | รู้ทันข่าวใหม่ในโลกไซเบอร์

วิเคราะห์เทรนด์สื่อออนไลน์ สะท้อนพฤติกรรมผู้เสพสื่อในปัจจุบัน | ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀

23 เมษายน 2566 กรุงเทพฯ  – 23 เมษายน 2566 — กองทุนสื่อฯ ร่วมกับ Wisesight จัดประชุมเสวนาออนไลน์ วิเคราะห์ผลการศึกษาการสื่อสารในโลกออนไลน์ของสังคมไทยในปี 2565 และแนวโน้มทิศทางในปีถัดไป ภายใต้หัวข้อ “จาก Trend ในโลกออนไลน์ปี 65 สู่การวิเคราะห์ทิศทางการสื่อสารออนไลน์ ปี 66” ในปัจจุบันข้อมูลในโลกออนไลน์มีความสำคัญ และถูกใช้ต่อยอดในสื่อหลักมากขึ้น จนเรียกได้ว่าสื่อออนไลน์กลายเป็นสื่อกระแสหลักแทนที่สื่อหลักเดิม ซึ่งความเปลี่ยนแปลงที่ตามมาคือ สื่อจะขับเคลื่อนด้วยการค้ามากขึ้น เช่น ต้องการจำนวนยอดไลก์ จำนวนคลิกเบตเพื่อหวังรายได้ จึงเห็นได้ว่า สื่อในยุคปัจจุบันการพาดหัวให้ดึงดูด หรือทำให้ผู้เสพสื่อมีอารมณ์ร่วมเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมาก แต่ในขณะเดียวกันการใช้ข้อมูลหลักจากโลกออนไลน์ ก็ส่งผลต่อคุณภาพของสื่อที่ลดลงเช่นกัน ดร. ธนกร ศรีสุขใส ผู้จัดการกองทุนสื่อฯ กล่าวว่า “Digital Society ทำให้ทุกคนเป็นสื่อ เราไม่ได้เป็นเพียงผู้รับอย่างเดียว” ซึ่งผู้ใช้สื่อออนไลน์ในปัจจุบัน มีความเป็น Smart Consumer คือจะปกป้อง และให้ความสำคัญกับสิทธิของตัวเองมากขึ้น อีกทั้งยังมีการแสดงออกทางความคิดอย่างเปิดเผย โดย Wisesight […]

Whoscall เผยคนไทยเบอร์โทรรั่ว 13 ล้านเบอร์ เป็นอันดับ 4 รองจากมาเลเซีย ไต้หวัน ญี่ปุ่น l ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀 

กรุงเทพฯ 31 มี.ค. 66 – Whoscall แอปพลิเคชันระบุตัวตนสายเรียกเข้าที่ไม่รู้จัก และป้องกันสแปมสำหรับสมาร์ทโฟน เปิดผลรายงานประจำปี พบว่า  มีการหลอกลวงทั้งจากสายโทรเข้า และข้อความ SMS รวม 405.4 ล้านครั้ง ทั่วโลก แม้ว่าตัวเลขโดยรวมจะลดลง จากปีที่แล้ว แต่สำหรับประเทศไทยการหลอกลวงยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่ง คนไทยยังต้องรับสายจากมิจฉาชีพเพิ่มขึ้น 165% หรือ 17 ล้านครั้งในปี 2565 รายงานยังเผยสถิติที่น่าตกใจ ถึงจำนวนการรั่วไหลของเบอร์โทรศัพท์ในประเทศไทยกว่า 45% หรือ 13.5 ล้านเบอร์  การรั่วไหลของเบอร์โทรศัพท์เป็นปัญหาสำคัญทั่วโลก รวมถึงการหลอกลวงทางข้อความ SMS ยังคงระบาดอย่างต่อเนื่อง   สารพัดกลอุบายหลอกให้เหยื่อหลงเชื่อ มิจฉาชีพนิยมส่งข้อความหลอกลวง เนื่องจากสามารถเข้าถึงเหยื่อจำนวนมากด้วยต้นทุนต่ำ ข้อความ SMS ถูกใช้เป็นเครื่องมือเพื่อ “ติดต่อครั้งแรก” โดยหลอกให้เหยื่อกดลิงก์ฟิชชิ่ง เพื่อขโมยข้อมูลส่วนตัว เพิ่มบัญชีไลน์ เพื่อหลอกให้ส่งข้อมูล หรือโอนเงินให้ กลอุบายที่พบบ่อย ได้แก่ การเสนอเงินกู้โดยมักอ้างรัฐบาล หรือธนาคาร  และการให้สิทธิ์เข้าตรงเว็บพนันออนไลน์ ที่ผิดกฎหมาย  คีย์เวิร์ดของข้อความหลอกลวงที่ถูกรายงาน […]

สำรวจพบบริษัทไทย 1 ใน 4 พร้อมสู้ภัยไซเบอร์ สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลก | ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀

22 มีนาคม 2566 กรุงเทพฯ  – 22 มีนาคม 2566 — จากผลสำรวจพบ  27% ขององค์กรในประเทศไทยมีความพร้อมในระดับ ‘มีความพร้อมอย่างเต็มที่’ ในการรับมือกับภัยคุกคามทางไซเบอร์สมัยใหม่ ตามรายงานดัชนีความพร้อมด้านไซเบอร์ซีเคียวริตี้ ของซิสโก้ จากผลสำรวจสะท้อนให้เห็นว่าทุกองค์กรสามารถดำเนินงานได้เป็นอย่างดีและมีความพร้อมสำหรับความปลอดภัยทางไซเบอร์มากขึ้น  รายงานดัชนีความพร้อมด้านไซเบอร์ซีเคียวริตี้ของซิสโก้: ความยืดหยุ่นในโลกไฮบริดรายงานดัชนีความพร้อมด้านไซเบอร์ซีเคียวริตี้ของซิสโก้ : ความยืดหยุ่นในโลกไฮบริด (Cisco Cybersecurity Readiness Index : Resilience in a Hybrid World) ได้ศึกษาความพร้อมของบริษัทต่าง ๆ ที่ได้เปลี่ยนรูปแบบการดำเนินงานแบบอยู่กับที่ ซึ่งบุคลากรทำงานโดยใช้อุปกรณ์เครื่องเดียวในสถานที่ตั้งแห่งเดียว เชื่อมต่อกับเครือข่ายที่คงที่ตายตัว ไปสู่โลกไฮบริดที่พนักงานทำงานจากอุปกรณ์หลายเครื่องในหลากหลายสถานที่มากขึ้น โดยเชื่อมต่อกับหลาย ๆ เครือข่าย พร้อมทั้งสามารถเข้าถึงแอปพลิเคชันบนระบบคลาวด์ได้ในขณะเดินทาง และสร้างข้อมูลจำนวนมหาศาล ความเปลี่ยนแปลงนี้ก่อให้เกิดปัญหาท้าทายในด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์กับบริษัทต่าง ๆ การสำรวจในครั้งนี้เป็นการสำรวจความเห็นแบบปกปิดสองทาง (double-blind) ดำเนินการโดยองค์กรอิสระ โดยสัมภาษณ์ผู้บริหารฝ่ายไซเบอร์ซีเคียวริตี้ในภาคเอกชน 6,700 คนใน 27 ประเทศ เกี่ยวกับการปรับใช้โซลูชั่น และระดับของการปรับใช้ โดยบริษัทต่าง […]

เปิดวิธีลงทะเบียน! รับสิทธิลดค่าไฟ-ค่าน้ำ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ รอบใหม่ |ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀

20 มีนาคม 2566 ผู้ที่ผ่านการยืนยันตัวตนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565 รอบใหม่จะต้องลงทะเบียนเพื่อรับสิทธิบรรเทาภาระค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปาใหม่ทุกคน โดยสามารถลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2566 เป็นต้นไป กรุงเทพฯ 20 มี.ค. 66 – ในวันที่ 15 มีนาคม 2566 นางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยข้อมูลจากกระทรวงการคลังว่า มีผู้ที่ยืนยันตัวตนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐสำเร็จ จำนวน 8,948,121 คน มีผู้ยื่นอุทธรณ์ผลการพิจารณาคุณสมบัติ จำนวน 1,014,730 คน ทั้งนี้ ขอให้ผู้ที่ยืนยันตัวตนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ไปลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมมาตรการบรรเทาภาระค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปา ซึ่งต้องลงทะเบียนขอรับสิทธิใหม่ทุกคน มีเงื่อนไขให้รับสิทธิได้ 1 ครัวเรือนต่อ 1 สิทธิต่อ 1 รหัสประจำบ้าน กล่าวคือ สามารถลงทะเบียนรับสิทธิค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปาได้เพียง 1 หน่วยงาน โดยสามารถลงทะเบียนได้แล้วตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2566 เป็นต้นไป วิธีการรับสิทธิบรรเทาภาระค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปา เงื่อนไขการรับสิทธิ *หมายเหตุ : […]

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀 : สมาคมธนาคาร-สถาบันการเงิน พร้อมร่วมมือ ธปท. คุมเข้มป้องกันหลอกโอนเงิน

สมาคมธนาคารไทยและสมาคมสถาบันการเงินของรัฐ แถลงยืนยันพร้อมปฏิบัติตามมาตรการจัดการภัยทุจริตทางการเงินของ ธปท. โดยจะทยอยปรับเปลี่ยนการบริการต่าง ๆ ให้เป็นไปตามมาตรการภายในกรอบเวลา ยืนยันการจัดเก็บข้อมูลใบหน้าเพื่อยืนยันตัวตนจะอยู่ภายใต้กฎหมายและการรักษาความลับลูกค้า กรุงเทพฯ 10 มี.ค. 66 – สมาคมธนาคารไทย และ สมาคมสถาบันการเงินของรัฐ แถลงข่าวร่วมกับ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ยืนยันความพร้อมดำเนินมาตรการจัดการภัยทุจริตทางการเงิน ทั้งการป้องกัน การตรวจจับ และการตอบสนองและรับมือ โดย น.ส.สิริธิดา พนมวัน ณ อยุธยา ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายกำกับระบบการชำระเงินและคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ธปท. กล่าวว่า “ได้เชิญผู้บริหารของสถาบันการเงินเข้าร่วมประชุมหารือและกำชับให้สถาบันการเงินทุกแห่งเร่งดำเนินการตามมาตรการดังกล่าว และเตรียมความพร้อมรองรับการดำเนินงานตาม พ.ร.ก. มาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ซึ่งได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากสถาบันการเงินทุกแห่ง” สำหรับมาตรการจัดการภัยทุจริตทางการเงิน ของ ธปท.จะแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ 1. ด้านการป้องกัน เพื่อปิดช่องทางที่มิจฉาชีพจะเข้าถึงประชาชน โดยการยกเลิกส่งลิงก์ทุกประเภทผ่าน SMS อีเมล และงดส่งลิงก์ขอข้อมูลสำคัญ จำกัดบัญชีผู้ใช้งาน Mobile Banking ของแต่ละสถาบันการเงิน ใช้ได้แค่ 1 […]

[เพิ่ม 4 ธนาคาร] รวม 12 ธนาคาร เปิดศูนย์รับแจ้งเหตุมิจฉาชีพ โทรได้ 24 ชั่วโมง ! | ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀

เสาวภาคย์ รัตนพงศ์, พีรพล อนุตรโสตถิ์, สุวัชรียา จันทร์บัวอัปเดตเมื่อ 11 มีนาคม 2566 จากปัญหาการหลอกลวงของแก๊งมิจฉาชีพที่สร้างความเดือดร้อนให้ประชาชนอย่างต่อเนื่อง เมื่อ 3 มีนาคม 2566 น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ตามที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหมได้กำชับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งประสานความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหามิจฉาชีพหลอกหลวงประชาชนผ่านช่องทางออนไลน์ มีการโอนเงินออกจากบัญชีผ่านแอปพลิเคชันของธนาคารจนเกิดความเสียหายเป็นวงกว้าง กระทรวงการคลัง กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ทำงานร่วมกับสมาคมธนาคารไทยและธนาคารของรัฐอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันปัญหาและบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดแก่ประชาชน ธนาคารพาณิชย์และธนาคารเฉพาะกิจรวม 8 แห่ง ได้เปิดศูนย์รับแจ้งเหตุภัยทางการเงินจากมิจฉาชีพของธนาคาร เพื่อเป็นช่องทางให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ หรือตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพโทรแจ้งเหตุ ได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อสกัดกั้นความเสียหายให้เร็วที่สุด  ธนาคารกสิกรไทย 0-2888-8888 กด 001 ธนาคารกรุงไทย  0-2111-1111 กด 108 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา  1572 กด 5 ธนาคารกรุงเทพ  1333 หรือ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST

FACTINFOcus

CAPTION แสดงรูปพร้อมคำบรรยายด้านล่าง

CARD แสดงรูปด้านบน ข้อความด้านล่าง

ชัวร์ก่อนแชร์: ไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ทำให้ตับอักเสบ จริงหรือ?

ไวรัสโควิด-19 มีผลในการทำลายปอดเท่านั้น แต่ความเสียหายของปอดอาจส่งผลเสียต่ออวัยวะภายในอื่นๆ เช่นตับ ไต และหัวใจ

ชัวร์ก่อนแชร์: โควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ระบาดในจีน ทำให้ปอดกลายเป็นสีขาว จริงหรือ?

ฝ้าจางชนิด GGO ที่ปอด สามารถเกิดได้จากการติดเชื้อชนิดต่างๆ ไม่จำเป็นต้องเป็นโควิด-19 เสมอไป

ชัวร์ก่อนแชร์: “ปูติน” สั่งทําลายสต็อกวัคซีนโควิด-19 ทั้งหมดในรัสเซีย จริงหรือ?

สำนักข่าวในรัสเซียรายงานข่าวการส่งมอบวัคซีน Sputnik V ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ในประเทศให้มากขึ้น

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ทำให้เป็นโรคหัวใจ จริงหรือ?

ผู้ที่เกิดอาการโรคหัวใจกำเริบ ได้รับการยืนยันว่ายังไม่ได้รับวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ พบว่าเคยฉีดวัคซีนโควิด-19 ครั้งสุดท้ายเมื่อ 1 ปีก่อน อาการป่วยจึงไม่มีความสัมพันธ์กับวัคซีนโควิด-19 แต่อย่างใด

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ทำให้เสี่ยงติดโควิด-19 ยิ่งกว่าเดิม จริงหรือ?

งานวิจัยพบว่าวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์ป้องกันการติดเชื้อได้เพียง 30% แต่ไม่ได้ระบุว่าวัคซีนทำให้เสี่ยงติดเชื้อมากขึ้น เป็นผลวิจัยที่ทดลองกับบุคลากรทางการแพทย์ ไม่อาจใช้อ้างอิงกับประชากรทั่วไปได้

ชัวร์ก่อนแชร์: ฉีดวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์เสี่ยงหลอดเลือดสมองอุดตันเพิ่ม 47% จริงหรือ?

ข้อมูลล่าสุดของ CDC ยืนยันว่าความเสี่ยงการป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดตันของผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์แทบไม่แตกต่างจากกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้น

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิดสูตร 2 สายพันธุ์ทำให้ผู้สูงอายุเสี่ยงหลอดเลือดสมองอุดตัน จริงหรือ?

หลอดเลือดสมองอุดตันหลังฉีดวัคซีนโควิด-19 สูตร 2 สายพันธุ์เป็นรายงานที่สร้างความหวาดกลัวเกินจริง เพราะไม่พบอาการดังกล่าวในหน่วยงานด้านการติดตามความปลอดภัยของยาอื่น ๆ นอกจาก Vaccine Safety Datalink

ชัวร์ก่อนแชร์: ชาวออสซี่ตายด้วยโรคหัวใจเพิ่มขึ้น 17% เพราะวัคซีนโควิด จริงหรือ?

ผู้เชี่ยวชาญชี้ว่าสาเหตุที่ชาวออสเตรเลียเสียชีวิตจากโรคหัวใจเพิ่มขึ้นในปี 2022 เพราะการระบาดของไวรัสโควิด-19 ทำให้คนเสี่ยงเป็นโรคหัวใจเพิ่มขึ้น

ชัวร์ก่อนแชร์: คนหนุ่มสาวตายมากขึ้นในปี 2021-2022 เพราะวัคซีน จริงหรือ?

มีหลักฐานมากมายยืนยันว่าการเสียชีวิตส่วนเกินในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา มีสาเหตุจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ไม่ใช่วัคซีนตามที่กล่าวอ้าง

HEADLINE แสดงชื่อเรื่องตรงกลาง รูปพื้นหลัง เหมาะกับสไลเดอร์ หากใช้ปลั๊กอิน ACF จะปรับเพิ่มได้

HERO แสดงรูปขนาดใหญ่ด้านซ้าย ข้อความด้านขวา

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : ตอนพิเศษ รวมเรื่องฮิต ที่สุดแห่งปี 2567 ชัวร์ก่อนแชร์ Line

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LISTตอนพิเศษได้รวบรวมประเด็นฮิต 3 เรื่องที่คนถามเข้ามามากที่สุดในปี 2567 ใน แพลตฟอร์ม Line ของชัวร์ก่อนแชร์ …จะมีเรื่องใดบ้าง 1. ไข่ขาวรักษาแผลไฟไหม้ จริงหรือ ?ตรวจสอบข้อมูลกับ ศ.นพ.พรพรหม เมืองแมน ผู้ช่วยคณบดี และ รองหัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล บทสรุป: 2. อากาศร้อน ห้ามดื่มและอาบน้ำเย็น จริงหรือ ?ตรวจสอบข้อมูลกับ นพ.กรภัค หวังธนภัทร สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ บทสรุป: 3. นมวัวก่อมะเร็งลำไส้ จริงหรือ ? ตรวจสอบข้อมูลกับ รศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล บทสรุป: ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

Chayanit

26/12/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : เตรียมรถยนต์เดินทางไกลช่วงเทศกาล (ตอนที่ 1)

24 ธันวาคม 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยว่า เมื่อต้องใช้รถยนต์เดินทางไกลในช่วงเทศกาล จะต้องเตรียม และตรวจเช็กสิ่งใดบ้าง เพื่อให้รถยนต์พร้อมใช้งาน ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญใน ชัวร์ก่อนแชร์ MOTOR CHECK ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ คุณธนเทพ ธเนศนิรัตศัย (พี่จิมมี่) นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญด้านรถยนต์ และ Website Director www.Headlightmag.com สิ่งที่ต้องตรวจเช็คก่อนเดินทางไกลในช่วงเทศกาล: นอกจากนี้ พี่จิมมี่ยังแนะนำให้ตรวจเช็กส่วนอื่น ๆ ของรถยนต์เพิ่มเติม เช่น ระบบไฟส่องสว่าง ยางรถยนต์ และระบบเบรก เพื่อความปลอดภัยในการเดินทางในช่วงเทศกาลปีใหม่อีกด้วย ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

Chayanit

26/12/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ : ชาถุงจุ่มน้ำร้อน เสี่ยงไมโครพลาสติก จริงหรือ ?

23 ธันวาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์เตือนว่า ใครที่ชอบกินชากาแฟ ที่บรรจุซองจุ่มในน้ำร้อน เลิกได้แล้ว เพราะถุงชาฉีดเคลือบพลาสติกไว้ เมื่อชงในน้ำร้อนจะมีไมโครพลาสติกออกมาปนเปื้อน ส่งผลต่อหลอดเลือดและอวัยวะต่าง ๆ จนเป็นมะเร็งได้นั้น บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.บุศรินทร์ จงเจริญยานนท์ อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ และ รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สัมภาษณ์เมื่อ 18 กันยายน 2567) ไมโครพลาสติกอันตรายแค่ไหน? วิธีลดความเสี่ยง สรุป ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

Chayanit

24/12/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ภาวะการมองเห็นภาพตรงกลางผิดปกติ

20 ธันวาคม 2567 – ภาวะการมองเห็นภาพตรงกลางผิดปกติเกิดจากสาเหตุใด เป็นสัญญาณบ่งบอกโรคหรือไม่ ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2567 เห็นภาพตรงกลางผิดปกติ คืออะไร ? ภาวะการมองเห็นภาพตรงกลางผิดปกติ หรือ Scotoma โดยได้สัมภาษณ์ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ซึ่งอธิบายว่า ภาวะนี้คือการที่เรามองเห็นภาพตรงกลางแย่ลง อาจจะมืดลง หรือเห็นเป็นแสง สาเหตุ อาจเกิดจากความผิดปกติของดวงตา หรือความผิดปกติทางสมอง เช่น สาเหตุที่พบบ่อย คือ คำแนะนำ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

Chayanit

23/12/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : Digital Abuse ภัยคุกคาม ผ่านเทคโนโลยี !

21 ธันวาคม 2567 สิ่งนี้…คือภัยคุกคาม ผ่านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและ สิ่งนี้ …เป็นการละเมิดที่พบบ่อยบนโลกออนไลน์ในปัจจุบัน จนกลายเป็นปัญหาใหญ่ในสังคม คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช กรรมการผู้จัดการมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย สัมภาษณ์เมื่อ 4 กันยายน 2567 Digital Abuse หรือ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการละเมิดผู้อื่น ซึ่งเป็นภัยคุกคามที่พบได้บ่อยบนโลกออนไลน์  Digital Abuse คืออะไร? ตัวอย่าง Digital Abuse วิธีป้องกัน ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยงเรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

Chayanit

23/12/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ : ต้องเลิกใช้หลอดดูดน้ำ จริงหรือ ?

22 ธันวาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์เตือนว่า ต่อไปนี้คงต้องเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่ใช้หลอดดูดดูดน้ำดื่มแล้ว เพราะนักวิจัยพบสารเคมี PFAS ในหลอดดูดแทบทุกชนิด ทั้งหลอดกระดาษ ไม้ไผ่ พลาสติก แก้ว ยกเว้นแค่หลอดสเตนเลสเท่านั้น แม้แต่ EU ก็สั่งยกเลิกแล้ว บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ ส่วนที่จริง คือ หลอดกระดาษมี PFAS จริงส่วนที่ไม่จริง คือ ที่ EU ยกเลิกหลอดพลาสติกเพราะ PFAS สาเหตุจริง ๆ ที่ EU ยกเลิกเพราะปัญหาสิ่งแวดล้อมจากขยะพลาสติก ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.บุศรินทร์ จงเจริญยานนท์ อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ และ รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัมภาษณ์เมื่อ 18 กันยายน 2567 PFAS คืออะไร? งานวิจัยต่างประเทศ PFAS  ใช้สัมผัสอาหารได้หรือไม่ […]

Chayanit

23/12/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ : หนอนแมลงวันรักษาแผลเน่าได้ จริงหรือ ?

19 ธันวาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์ข้อความถึงประโยชน์ของแมลงวันและหนอนแมลงวันในทางการแพทย์ ซึ่งสามารถช่วยรักษาแผลเน่า และ ช่วยชันสูตรศพได้ นั้น บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม เป็นหนอนแมลงวันหัวเขียวชนิด Lucilia sericata ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.รัชฎาวรรณ เงินกลั่น รองหัวหน้าศูนย์วิจัยและเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านกีฏวิทยาชุมชนและสิ่งแวดล้อม และ อาจารย์ประจำ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สัมภาษณ์เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566) หนอนแมลงวันรักษาแผลเน่าได้ จริงหรือ ? ตอบ : มีการใช้หนอนแมลงวันในการชันสูตรศพจริง การรักษาแผลเน่าด้วยหนอนแมลงวันนั้น เป็นวิธีการรักษาที่เรียกว่า Maggot Debridement Therapy (MDT) ซึ่งเป็นวิธีการรักษาที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ แต่ต้องทำโดยแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น โดยหนอนแมลงวัน ที่ใช้ในการรักษาแผลเน่าจะถูกเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อและผ่านการฆ่าเชื้อโรคก่อนนำมาใช้ ส่วนการรักษาแผลเน่าด้วยหนอนแมลงวัน เป็นวิธีการรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการศึกษาและพัฒนา แต่มีแนวโน้มว่าจะเป็นวิธีการรักษาที่สำคัญในอนาคต ประโยชน์ของแมลงวัน ข้อควรระวัง แมลงวันส่วนใหญ่ยังคงเป็นพาหะนำโรค ควรระมัดระวังเรื่องอาหารและสุขอนามัย การใช้ประโยชน์จากแมลงวันต้องอาศัยความรู้และความเชี่ยวชาญ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย […]

Chayanit

20/12/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : ตอนพิเศษ รวมเรื่องฮิต ที่สุดแห่งปี 2567 ชัวร์ก่อนแชร์ YouTube

18 ธันวาคม 2567 – เข้าสู่เทศกาลส่งท้ายปี 2567 ชัวร์ก่อนแชร์ขอรวมคลิปที่สุดแห่งปี ที่มียอดผู้รับชมสูงสุดบนแพลตฟอร์ม YouTube ของเรามาฝากกันค่ะ ชัวร์ก่อนแชร์ รวบรวมคลิปยอดฮิตประจำปี 2567 ที่มียอดผู้ชมสูงสุดบน YouTube 3 อันดับ ได้แก่ 1. ติดยาดมอันตราย จริงหรือ ? ตรวจสอบกับ แพทย์แผนไทยคมสัน ทินกร ณ อยุธยา รองคณบดีวิทยาลัยแพทย์ตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต บทสรุป : จริง แชร์ได้ ✅: การติดยาดมเป็นอันตรายจริง เพราะในยาดมมีสารต่าง ๆ เช่น เมนทอล และการบูร ที่ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจและสมอง การใช้บ่อย ๆ อาจทำให้เกิดการเสพติดและเป็นอันตรายต่อปอดได้ ควรใช้ยาดมเฉพาะเมื่อมีอาการเท่านั้น 2. กินไข่คนมะเขือเทศดิบอันตราย จริงหรือ ? บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม ⚠️ ตรวจสอบกับ […]

Chayanit

19/12/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : คลิปน้ำมันฉุกเฉิน จริงหรือ ?

17 ธันวาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์คลิปแนะนำผู้ใช้รถยนต์ว่า เมื่อน้ำมันเชื้อเพลิงใกล้หมด ให้กดปุ่มไฟฉุกเฉินติดกันสามครั้ง จะมีน้ำมันเชื้อเพลิงฉุกเฉินเพิ่มระดับขึ้นมานั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌  ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.นภดล กลิ่นทอง ผู้เชี่ยวชาญด้านยานยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (สัมภาษณ์เมื่อ 16 ธันวาคม 2567) ดร.นภดล ซึ่งได้อธิบายว่า ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงและระบบไฟฉุกเฉินเป็นคนละส่วนกันโดยสิ้นเชิง การกดไฟฉุกเฉินจะไม่ส่งผลใด ๆ ต่อระบบน้ำมันเชื้อเพลิง อันตรายจากการปล่อยให้น้ำมันใกล้หมดบ่อย ๆ ซึ่งอาจทำให้ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงสึกหรอและชำรุดได้ง่าย ลูกถังน้ำมันมีปัญหา และอาจเกิดหยดน้ำในถังน้ำมันได้ ดร.นภดล ได้แนะนำให้ผู้ขับรถยนต์ว่าให้ตรวจสอบระดับน้ำมันเชื้อเพลิงเป็นประจำ เพื่อป้องกันไม่ให้รถยนต์หมดน้ำมันฉุกเฉิน และควรเติมน้ำมันให้เต็มถังทุกครั้งที่ไปปั๊มน้ำมัน ข้อควรระวัง หากรถยนต์ของคุณหมดน้ำมันฉุกเฉิน ควรโทรแจ้งศูนย์บริการรถยนต์เพื่อขอความช่วยเหลือ อย่าพยายามเติมน้ำมันเอง เพราะอาจเป็นอันตรายได้ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

Chayanit

18/12/2567

Line Today ชัวร์ก่อนแชร์ //

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : SEXUAL ABUSE — ภัยคุกคามทางเพศที่ไม่ควรเพิกเฉย !

14 ธันวาคม 2567 – สิ่งนี้…เป็นปัญหาระดับโลกที่ถูกพัฒนาอย่างหลากหลาย และรวดเร็ว และ สิ่งนี้ …คือภัยการล่วงละเมิดทางเพศ ที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช กรรมการผู้จัดการมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย (สัมภาษณ์เมื่อ 4 กันยายน 2567) ภัยคุกคามทางเพศในโลกออนไลน์เป็นปัญหาที่ร้ายแรงและกำลังเป็นที่พูดถึงอย่างมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการล่วงละเมิดทางเพศเด็ก ซึ่งมีรูปแบบการกระทำผิดที่หลากหลายขึ้นในยุคดิจิทัล การล่วงละเมิดทางเพศออนไลน์ ไม่จำเป็นต้องมีการสัมผัสทางกาย แค่การพูดคุย ชักชวน โน้มน้าว หรือส่งข้อความ/ภาพ/วิดีโอที่ไม่เหมาะสมก็ถือเป็นการล่วงละเมิดทางเพศได้ การใช้ AI ในการสร้างเนื้อหาลามกอนาจารเด็ก แม้จะไม่มีเด็กจริง ๆ มาเกี่ยวข้อง แต่ก็ถือเป็นความผิดตามกฎหมายไทย ผลกระทบจากการถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ ส่งผลต่อสภาพจิตใจของเหยื่อในระยะยาว การป้องกัน ผู้ปกครองควรให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุตรหลานเกี่ยวกับภัยออนไลน์ และรู้เท่าทันกลโกงของคนร้าย ตัวอย่างของภัยคุกคามทางเพศออนไลน์ ผลกระทบจากการถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ การป้องกันการถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ หากคุณหรือคนที่คุณรักถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ บทสรุป ภัยคุกคามทางเพศออนไลน์เป็นปัญหาที่ร้ายแรงและกำลังเป็นที่พูดถึงอย่างมากในปัจจุบัน ผู้ปกครองและครูอาจารย์ควรให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุตรหลานเกี่ยวกับภัยคุกคามทางเพศออนไลน์ และสอนให้เด็กรู้จักวิธีการป้องกันตัวเอง หากคุณหรือคนที่คุณรักถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ ควรแจ้งความกับตำรวจและปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต  ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย […]

Chayanit

17/12/2567

LIST แสดงรูปด้านซ้าย ข้อความด้านขวา

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : ตอนพิเศษ รวมเรื่องฮิต ที่สุดแห่งปี 2567 ชัวร์ก่อนแชร์ Line

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LISTตอนพิเศษได้รวบรวมประเด็นฮิต 3 เรื่องที่คนถามเข้ามามากที่สุดในปี 2567 ใน แพลตฟอร์ม Line ของชัวร์ก่อนแชร์ …จะมีเรื่องใดบ้าง 1. ไข่ขาวรักษาแผลไฟไหม้ จริงหรือ ?ตรวจสอบข้อมูลกับ ศ.นพ.พรพรหม เมืองแมน ผู้ช่วยคณบดี และ รองหัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล บทสรุป: 2. อากาศร้อน ห้ามดื่มและอาบน้ำเย็น จริงหรือ ?ตรวจสอบข้อมูลกับ นพ.กรภัค หวังธนภัทร สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ บทสรุป: 3. นมวัวก่อมะเร็งลำไส้ จริงหรือ ? ตรวจสอบข้อมูลกับ รศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล บทสรุป: ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : เตรียมรถยนต์เดินทางไกลช่วงเทศกาล (ตอนที่ 1)

24 ธันวาคม 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยว่า เมื่อต้องใช้รถยนต์เดินทางไกลในช่วงเทศกาล จะต้องเตรียม และตรวจเช็กสิ่งใดบ้าง เพื่อให้รถยนต์พร้อมใช้งาน ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญใน ชัวร์ก่อนแชร์ MOTOR CHECK ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ คุณธนเทพ ธเนศนิรัตศัย (พี่จิมมี่) นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญด้านรถยนต์ และ Website Director www.Headlightmag.com สิ่งที่ต้องตรวจเช็คก่อนเดินทางไกลในช่วงเทศกาล: นอกจากนี้ พี่จิมมี่ยังแนะนำให้ตรวจเช็กส่วนอื่น ๆ ของรถยนต์เพิ่มเติม เช่น ระบบไฟส่องสว่าง ยางรถยนต์ และระบบเบรก เพื่อความปลอดภัยในการเดินทางในช่วงเทศกาลปีใหม่อีกด้วย ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ : ชาถุงจุ่มน้ำร้อน เสี่ยงไมโครพลาสติก จริงหรือ ?

23 ธันวาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์เตือนว่า ใครที่ชอบกินชากาแฟ ที่บรรจุซองจุ่มในน้ำร้อน เลิกได้แล้ว เพราะถุงชาฉีดเคลือบพลาสติกไว้ เมื่อชงในน้ำร้อนจะมีไมโครพลาสติกออกมาปนเปื้อน ส่งผลต่อหลอดเลือดและอวัยวะต่าง ๆ จนเป็นมะเร็งได้นั้น บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.บุศรินทร์ จงเจริญยานนท์ อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ และ รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สัมภาษณ์เมื่อ 18 กันยายน 2567) ไมโครพลาสติกอันตรายแค่ไหน? วิธีลดความเสี่ยง สรุป ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ภาวะการมองเห็นภาพตรงกลางผิดปกติ

20 ธันวาคม 2567 – ภาวะการมองเห็นภาพตรงกลางผิดปกติเกิดจากสาเหตุใด เป็นสัญญาณบ่งบอกโรคหรือไม่ ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2567 เห็นภาพตรงกลางผิดปกติ คืออะไร ? ภาวะการมองเห็นภาพตรงกลางผิดปกติ หรือ Scotoma โดยได้สัมภาษณ์ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ซึ่งอธิบายว่า ภาวะนี้คือการที่เรามองเห็นภาพตรงกลางแย่ลง อาจจะมืดลง หรือเห็นเป็นแสง สาเหตุ อาจเกิดจากความผิดปกติของดวงตา หรือความผิดปกติทางสมอง เช่น สาเหตุที่พบบ่อย คือ คำแนะนำ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : Digital Abuse ภัยคุกคาม ผ่านเทคโนโลยี !

21 ธันวาคม 2567 สิ่งนี้…คือภัยคุกคาม ผ่านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและ สิ่งนี้ …เป็นการละเมิดที่พบบ่อยบนโลกออนไลน์ในปัจจุบัน จนกลายเป็นปัญหาใหญ่ในสังคม คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช กรรมการผู้จัดการมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย สัมภาษณ์เมื่อ 4 กันยายน 2567 Digital Abuse หรือ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการละเมิดผู้อื่น ซึ่งเป็นภัยคุกคามที่พบได้บ่อยบนโลกออนไลน์  Digital Abuse คืออะไร? ตัวอย่าง Digital Abuse วิธีป้องกัน ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยงเรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ : ต้องเลิกใช้หลอดดูดน้ำ จริงหรือ ?

22 ธันวาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์เตือนว่า ต่อไปนี้คงต้องเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่ใช้หลอดดูดดูดน้ำดื่มแล้ว เพราะนักวิจัยพบสารเคมี PFAS ในหลอดดูดแทบทุกชนิด ทั้งหลอดกระดาษ ไม้ไผ่ พลาสติก แก้ว ยกเว้นแค่หลอดสเตนเลสเท่านั้น แม้แต่ EU ก็สั่งยกเลิกแล้ว บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ ส่วนที่จริง คือ หลอดกระดาษมี PFAS จริงส่วนที่ไม่จริง คือ ที่ EU ยกเลิกหลอดพลาสติกเพราะ PFAS สาเหตุจริง ๆ ที่ EU ยกเลิกเพราะปัญหาสิ่งแวดล้อมจากขยะพลาสติก ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.บุศรินทร์ จงเจริญยานนท์ อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ และ รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัมภาษณ์เมื่อ 18 กันยายน 2567 PFAS คืออะไร? งานวิจัยต่างประเทศ PFAS  ใช้สัมผัสอาหารได้หรือไม่ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ : หนอนแมลงวันรักษาแผลเน่าได้ จริงหรือ ?

19 ธันวาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์ข้อความถึงประโยชน์ของแมลงวันและหนอนแมลงวันในทางการแพทย์ ซึ่งสามารถช่วยรักษาแผลเน่า และ ช่วยชันสูตรศพได้ นั้น บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม เป็นหนอนแมลงวันหัวเขียวชนิด Lucilia sericata ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.รัชฎาวรรณ เงินกลั่น รองหัวหน้าศูนย์วิจัยและเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านกีฏวิทยาชุมชนและสิ่งแวดล้อม และ อาจารย์ประจำ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สัมภาษณ์เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566) หนอนแมลงวันรักษาแผลเน่าได้ จริงหรือ ? ตอบ : มีการใช้หนอนแมลงวันในการชันสูตรศพจริง การรักษาแผลเน่าด้วยหนอนแมลงวันนั้น เป็นวิธีการรักษาที่เรียกว่า Maggot Debridement Therapy (MDT) ซึ่งเป็นวิธีการรักษาที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ แต่ต้องทำโดยแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น โดยหนอนแมลงวัน ที่ใช้ในการรักษาแผลเน่าจะถูกเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อและผ่านการฆ่าเชื้อโรคก่อนนำมาใช้ ส่วนการรักษาแผลเน่าด้วยหนอนแมลงวัน เป็นวิธีการรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการศึกษาและพัฒนา แต่มีแนวโน้มว่าจะเป็นวิธีการรักษาที่สำคัญในอนาคต ประโยชน์ของแมลงวัน ข้อควรระวัง แมลงวันส่วนใหญ่ยังคงเป็นพาหะนำโรค ควรระมัดระวังเรื่องอาหารและสุขอนามัย การใช้ประโยชน์จากแมลงวันต้องอาศัยความรู้และความเชี่ยวชาญ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย […]

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : ตอนพิเศษ รวมเรื่องฮิต ที่สุดแห่งปี 2567 ชัวร์ก่อนแชร์ YouTube

18 ธันวาคม 2567 – เข้าสู่เทศกาลส่งท้ายปี 2567 ชัวร์ก่อนแชร์ขอรวมคลิปที่สุดแห่งปี ที่มียอดผู้รับชมสูงสุดบนแพลตฟอร์ม YouTube ของเรามาฝากกันค่ะ ชัวร์ก่อนแชร์ รวบรวมคลิปยอดฮิตประจำปี 2567 ที่มียอดผู้ชมสูงสุดบน YouTube 3 อันดับ ได้แก่ 1. ติดยาดมอันตราย จริงหรือ ? ตรวจสอบกับ แพทย์แผนไทยคมสัน ทินกร ณ อยุธยา รองคณบดีวิทยาลัยแพทย์ตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต บทสรุป : จริง แชร์ได้ ✅: การติดยาดมเป็นอันตรายจริง เพราะในยาดมมีสารต่าง ๆ เช่น เมนทอล และการบูร ที่ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจและสมอง การใช้บ่อย ๆ อาจทำให้เกิดการเสพติดและเป็นอันตรายต่อปอดได้ ควรใช้ยาดมเฉพาะเมื่อมีอาการเท่านั้น 2. กินไข่คนมะเขือเทศดิบอันตราย จริงหรือ ? บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม ⚠️ ตรวจสอบกับ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : คลิปน้ำมันฉุกเฉิน จริงหรือ ?

17 ธันวาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์คลิปแนะนำผู้ใช้รถยนต์ว่า เมื่อน้ำมันเชื้อเพลิงใกล้หมด ให้กดปุ่มไฟฉุกเฉินติดกันสามครั้ง จะมีน้ำมันเชื้อเพลิงฉุกเฉินเพิ่มระดับขึ้นมานั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌  ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.นภดล กลิ่นทอง ผู้เชี่ยวชาญด้านยานยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (สัมภาษณ์เมื่อ 16 ธันวาคม 2567) ดร.นภดล ซึ่งได้อธิบายว่า ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงและระบบไฟฉุกเฉินเป็นคนละส่วนกันโดยสิ้นเชิง การกดไฟฉุกเฉินจะไม่ส่งผลใด ๆ ต่อระบบน้ำมันเชื้อเพลิง อันตรายจากการปล่อยให้น้ำมันใกล้หมดบ่อย ๆ ซึ่งอาจทำให้ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงสึกหรอและชำรุดได้ง่าย ลูกถังน้ำมันมีปัญหา และอาจเกิดหยดน้ำในถังน้ำมันได้ ดร.นภดล ได้แนะนำให้ผู้ขับรถยนต์ว่าให้ตรวจสอบระดับน้ำมันเชื้อเพลิงเป็นประจำ เพื่อป้องกันไม่ให้รถยนต์หมดน้ำมันฉุกเฉิน และควรเติมน้ำมันให้เต็มถังทุกครั้งที่ไปปั๊มน้ำมัน ข้อควรระวัง หากรถยนต์ของคุณหมดน้ำมันฉุกเฉิน ควรโทรแจ้งศูนย์บริการรถยนต์เพื่อขอความช่วยเหลือ อย่าพยายามเติมน้ำมันเอง เพราะอาจเป็นอันตรายได้ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : SEXUAL ABUSE — ภัยคุกคามทางเพศที่ไม่ควรเพิกเฉย !

14 ธันวาคม 2567 – สิ่งนี้…เป็นปัญหาระดับโลกที่ถูกพัฒนาอย่างหลากหลาย และรวดเร็ว และ สิ่งนี้ …คือภัยการล่วงละเมิดทางเพศ ที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช กรรมการผู้จัดการมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย (สัมภาษณ์เมื่อ 4 กันยายน 2567) ภัยคุกคามทางเพศในโลกออนไลน์เป็นปัญหาที่ร้ายแรงและกำลังเป็นที่พูดถึงอย่างมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการล่วงละเมิดทางเพศเด็ก ซึ่งมีรูปแบบการกระทำผิดที่หลากหลายขึ้นในยุคดิจิทัล การล่วงละเมิดทางเพศออนไลน์ ไม่จำเป็นต้องมีการสัมผัสทางกาย แค่การพูดคุย ชักชวน โน้มน้าว หรือส่งข้อความ/ภาพ/วิดีโอที่ไม่เหมาะสมก็ถือเป็นการล่วงละเมิดทางเพศได้ การใช้ AI ในการสร้างเนื้อหาลามกอนาจารเด็ก แม้จะไม่มีเด็กจริง ๆ มาเกี่ยวข้อง แต่ก็ถือเป็นความผิดตามกฎหมายไทย ผลกระทบจากการถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ ส่งผลต่อสภาพจิตใจของเหยื่อในระยะยาว การป้องกัน ผู้ปกครองควรให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุตรหลานเกี่ยวกับภัยออนไลน์ และรู้เท่าทันกลโกงของคนร้าย ตัวอย่างของภัยคุกคามทางเพศออนไลน์ ผลกระทบจากการถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ การป้องกันการถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ หากคุณหรือคนที่คุณรักถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ บทสรุป ภัยคุกคามทางเพศออนไลน์เป็นปัญหาที่ร้ายแรงและกำลังเป็นที่พูดถึงอย่างมากในปัจจุบัน ผู้ปกครองและครูอาจารย์ควรให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุตรหลานเกี่ยวกับภัยคุกคามทางเพศออนไลน์ และสอนให้เด็กรู้จักวิธีการป้องกันตัวเอง หากคุณหรือคนที่คุณรักถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ ควรแจ้งความกับตำรวจและปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต  ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย […]