ชัวร์ก่อนแชร์ MotorCheck : คลิปน้ำมันฉุกเฉิน จริงหรือ ?

บนสังคมออนไลน์มีการแชร์คลิปที่แนะนำว่า เมื่อน้ำมันเชื้อเพลิงใกล้หมดหรือหมดแล้ว ให้กดปุ่มเปิด-ปิดไฟฉุกเฉินติดกัน 3 ครั้ง เมื่อกดครบแล้ว จะมีน้ำมันฉุกเฉิน เพิ่มขึ้นมา เพื่อให้รถสามารถขับต่อไปได้ บทสรุป : ❌ ไม่จริง ไม่ควรแชร์ต่อ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ได้ทำการตรวจสอบ และสอบถามไปยัง ดร.นภดล กลิ่นทอง ผู้เชี่ยวชาญด้านรถยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ยืนยันว่า คลิปนี้ไม่จริง ไม่สามารถเป็นไปได้ “เนื่องจากปุ่มที่กดในคลิปนั้น เป็นปุ่มเปิด-ปิด ไฟฉุกเฉิน ซึ่งเป็นระบบไฟฟ้า และไม่มีความเกี่ยวข้องอะไรกับระบบวงจรไฟฟ้าของน้ำมันเชื้อเพลิงเลย คลิปนี้จึงไม่เป็นความจริง“ 10 พฤศจิกายน 2567 ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์สำนักข่าวไทย อสมท

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดเมนูอาหารเช้าอันตราย จริงหรือ ?

6 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์สารพัดอาหารเช้าอันตราย ทั้งเตือน กาแฟและนมจืด ไม่ควรดื่มตอนท้องยังว่าง และปาท่องโก๋ที่เรากินกันนั้น มีแอมโมเนีย กินแล้วเสี่ยงไตพังได้ ?! 🎯 ตรวจสอบกับ วสุนธรี เสรีสุชาติ นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมโภชนาการวัยทำงานและสูงอายุ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย รศ.ดร.เอกราช เกตวัลห์ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ดร.ภญ.พิมพิกา กาญจนดำเกิง ภาควิชาอาหารเคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล อ.ดร.อมรรัตน์ อรุณนวล คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ต.อ.หญิง สุรีรัตน์ จารุหทัย นายแพทย์ (สบ 4) กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลตำรวจ อ.นพ.วิทวัส แนววงศ์ อายุรแพทย์ต่อมไร้ท่อฯ เบาหวาน ไทรอยด์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : รู้จัก ก๊าซธรรมชาติที่ใช้ในรถยนต์

5 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติที่ใช้กับรถยนต์ว่า มาจากที่ใด มีกี่รูปแบบ และแต่ละแบบต่างกันอย่างไร ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญใน ชัวร์ก่อนแชร์ MOTOR CHECK กับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ สุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ ก๊าซธรรมชาติสำหรับยานยนต์ (NGV) มี 2 ประเภทหลัก ๆ NGV มาจากไหน? ข้อดีของการใช้ NGV ข้อเสียของการใช้ NGV สรุป : NGV เป็นเชื้อเพลิงทางเลือกที่น่าสนใจ มีข้อดีหลายอย่าง แต่ก็มีข้อจำกัด การเลือกใช้ NGV หรือน้ำมัน ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละบุคคล เช่น ประเภทรถ ระยะทางการใช้งาน งบประมาณ ฯลฯ สัมภาษณ์เมื่อ : 25 ตุลาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง : ณัฐพล […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปวดหัวแบบคลัสเตอร์

4 พฤศจิกายน 2567 – ปวดศีรษะแบบคลัสเตอร์ คือ โรคแบบใด อาการเป็นอย่างไร ใครมีความเสี่ยงจะเป็น และหากเป็นแล้ว จะดูแลรักษาอย่างไร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อ.นพ.ประกิต อนุกูลวิทยา อายุรแพทย์โรคระบบประสาท คลินิกโรคปวดศีรษะ สาขาวิชาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย กรรมการชมรมศึกษาโรคปวดศีรษะ ภายใต้สมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย อาการปวดหัวแบบคลัสเตอร์ (Cluster Headache) เป็นอาการปวดหัวรุนแรงข้างเดียวที่เกิดขึ้นเป็นช่วง ๆ ลักษณะเด่นคือ ปวดเหมือนมีอะไรทิ่มแทงในเบ้าตา หรือขมับข้างเดียว มักปวดมากจนทนไม่ไหว บางคนบอกว่าปวดรุนแรงกว่าไมเกรนเสียอีก อาการ สาเหตุ ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับ ปัจจัยกระตุ้น การรักษา สิ่งที่ควรทำ สัมภาษณ์เมื่อ : 24 ตุลาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : VERGEEN NPRO ? — ภัยคุกคาม เพื่อหวังแก้แค้น !

2 พฤศจิกายน 2567 สิ่งนี้…ถือเป็นความรุนแรงทางเพศบนโลกออนไลน์ เพื่อหวังแก้แค้น และ สิ่งนี้ …ผู้กระทำมักเป็นคนใกล้ชิด ที่เหยื่อที่เหยื่อให้ความรัก และไว้วางใจ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช กรรมการผู้จัดการมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 4 กันยายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ : อันตรายจากเชื้อราใต้ขวดแชมพู จริงหรือ ?

3 พฤศจิกายน 2567 – ตามที่มีการแชร์เตือน อันตรายจากเชื้อราใต้ขวดแชมพูที่หลายคนไม่เคยสังเกต ซึ่งถ้าหากเชื้อรานั้นเข้าสู้ร่างกายจะเป็นพิษและเป็นอันตรายมากนั้น บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์  ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 22 ตุลาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : สายตาสั้นในเด็ก

31 ตุลาคม 2567 – สายตาสั้นในเด็กเกิดขึ้นจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการชะลอสายตาสั้นได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 22 ตุลาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberAlert!🚨 : ฮาโลวีนนี้ระวัง ! 5 ผีร้ายที่อาจทำให้กระเป๋าแบน

31 ตุลาคม 2567 – พล.ต.ต.ศิริวัฒน์ ดีพอ รองโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กล่าวว่า พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ มีความห่วงใยประชาชนที่อาจตกเป็นเหยื่อแก๊งมิจฉาชีพที่ก่ออาชญากรรมรูปแบบต่าง ๆ ในช่วงเทศกาลฮาโลวีน สำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงขอเตือนระวังภัย 5 ผี มิจฉาชีพ ที่พี่น้องประชาชนต้องระวัง อย่าให้มาหลอกหลอน สร้างความเสียหายในสังคม นอกจากนี้ พี่น้องประชาชนยังต้องระมัดระวังในการเดินทางและท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลฮาโลวีน โดยควรหลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีผู้คนแออัด และสังเกตทางออกฉุกเฉินอยู่เสมอ เพื่อจะได้หนีออกจากสถานที่ดังกล่าวได้หากเกิดเหตุไม่คาดคิด รวมไปถึงการดูแลบุตรหลานของท่านอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันการผลัดหลง หรือถูกผู้ไม่หวังดีฉวยโอกาสล่อลวงบุตรหลานของท่านไป ทั้งนี้ หากพี่น้องประชาชนพบเห็นการหลอกลวง หรือเหตุการณ์ในลักษณะดังกล่าว สามารถแจ้งเบาะแสได้ที่สายด่วน 191 หรือ 1599 และหากท่านตกเป็นเหยื่อ หรือได้รับความเสียหายจากอาชญากรรมทางเทคโนโลยี สามารถแจ้งความร้องทุกข์ได้ที่สถานีตำรวจในพื้นที่ หรือแจ้งความออนไลน์ได้ที่เว็บไซต์ www.thaipoliceonline.go.th หรือสายด่วน 1441 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ทีมข่าวไซเบอร์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : ข้อเสียของรถติดตั้งแก๊ส จริงหรือ ?

29 ตุลาคม 2567 – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์ข้อเสียของการดัดแปลงติดตั้งระบบแก๊สรถยนต์ เช่น ราคาขายต่อตกลง และ เครื่องยนต์เสื่อมสภาพไวกว่าปกติ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามได้ใน ซีรีส์ ชัวร์ก่อนแชร์ มอเตอร์เช็ก กับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สรุป : ✅ แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม 🎯 ตรวจสอบกับ สุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 18 ตุลาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดอันตรายของเมนูก๋วยเตี๋ยว จริงหรือ ?

30 ตุลาคม 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์สารพัดอันตรายของเมนูก๋วยเตี๋ยว ทั้งเตือนให้ระวังการกินเส้นเล็กเพราะมีสารกันบูดมากกว่าเส้นอื่น รวมถึงการกินกากหมู หากกินมาก ๆ เสี่ยงเกิดโรคได้ ?! 🎯 ตรวจสอบกับ ดร.นัฐพล ตั้งสุภูมิ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ดร.วิวรพรรณ สรรประเสริฐ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ผศ.ดร.กิตณา แมคึเน็น ภาควิชาโภชนาการและการกำหนดอาหาร คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาฯ พิมพ์นภาณัท ศรีดอนไผ่ นักวิจัย สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ดร.ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ ผู้อำนวยการ สำนักอาหาร อย. 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : GADILIT AFIEGUT ? — พิษสงจากการใช้เครื่องมือดิจิทัล มากเกินไป !

26 ตุลาคม 2567 – สิ่งนี้…เป็นสภาวะเหนื่อยหน่ายทางจิตใจที่เกิดจากการใช้เครื่องมือดิจิทัลมากเกินไป และ สิ่งนี้ …จากข้อมูลของ ETDA ระบุว่า เป็นหนึ่งในเหตุผลที่ทำให้คนไทย มีภาวะหมดไฟเพิ่มมากขึ้น คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ ผศ.อภิสิทธิ์ ศุภกิจเจริญ คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง สัมภาษณ์เมื่อ 6 กันยายน 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ : ห้ามใช้ใบก้ามปูสดปลูกต้นไม้ จริงหรือ ?

27 ตุลาคม 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์เตือน ห้ามนำใบก้ามปูสดไปปลูกต้นไม้ เพราะจะไปแย่งไนโตรเจน และทำให้ต้นไม้ตายได้ แต่หากจะใช้ต้องผ่านการหมักด้วยจุลินทรีย์ก่อน ต้นไม้ถึงจะเจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์ หืม ! ชัวร์เหรอ ?  สรุป : ✅ ชัวร์ แชร์ได้ ✅ 🎯 ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์ อาจารย์ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัมภาษณ์เมื่อ 15 พฤษภาคม 2567🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

1 2 3 4 5 6 201
...