ชัวร์ก่อนแชร์: ภาพชะตากรรมเด็กอาหรับที่อิสราเอลโจมตีในกาซา จริงหรือ?
ภาพเด็กที่ประสบเหตุทั้ง 3 ภาพ นำมาจากประเทศซีเรีย ทั้งจากสงครามกลางเมืองและจากเหตุแผ่นดินไหว
ภาพเด็กที่ประสบเหตุทั้ง 3 ภาพ นำมาจากประเทศซีเรีย ทั้งจากสงครามกลางเมืองและจากเหตุแผ่นดินไหว
อาฟเนอร์ เนทันยาฮู ลูกชายคนเล็กของ เบนจามิน เนทันยาฮู เข้ารับการเกณฑ์ทหารในกองทัพอิสราเอลเมื่อปี 2014 และปลดประจำการเมื่อปี 2017
เป็นภาพชาวเลบานอนพยายามปีนรั้วที่ชายแดนอิสราเอลเมื่อปี 2021 ไม่ใช่เหตุการณ์ในสงครามอิสราเอล-ฮามาสในปี 2023
คลิปแรกเป็นภาพขบวนรถสิ่งของบรรเทาทุกข์จอดหน้าด่านราฟาห์เมื่อปี 2021 หรือ ส่วนคลิปที่ 2 เป็นภาพฝูงชนลักลอบนำสิ่งของเดินข้ามชายแดนอียิปต์และลิเบีย คนละฝั่งกับชายแดนอียิปต์และกาซา
ผู้เชี่ยวชาญยืนยันว่าอาวุธที่อามาสใช้โจมตีอิสราเอลเป็นของที่เคยใช้ในกองทัพสหภาพโซเวียต ทางการอิสราเอลพบหลักฐานว่าฮามาสสามารถผลิตอาวุธได้เองในกาซา
มีการปลอมเพจ Facebook ของ IDF ให้ยอมรับว่าการโจมตีโรงพยาบาลกาซาเป็นฝีมือของอิสราเอล และผู้อ้างตนเป็นผู้สื่อข่าว Al Jazeera อ้างอย่างไม่มีหลักฐานว่าระเบิดเป็นฝีมือของฝั่งฮามาส
คลิปเด็กถูกขังในกรงได้รับการยืนยันว่าเป็นการล้อเล่นของคนในครอบครัวและถูกอัปโหลดก่อนสงครามเริ่มหลายวัน คลิปเด็กหญิงหลงทางถ่ายก่อนสงครามเริ่มนับเดือน ไม่มีหลักฐานว่าเกิดขึ้นในกาซา
หนึ่งในข่าวจากสมรภูมิรบในอิสราเอลและกาซาที่สร้างความสลดใจไปทั่วโลก คือข่าวที่อ้างว่ากองกำลังติดอาวุธฮามาสลงมือตัดศีรษะเด็กทารกชาวอิสราเอลนับ 40 ราย
เป็นการนำภาพการโจมตีกาซาในอดีต มาทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นภาพการโจมตีในปัจจุบัน
คลิปแรกคือการยิงขีปนาวุธในสงครามกลางเมืองของประเทศซีเรียเมื่อปี 2020 คลิปที่สองคือการตอบโต้ของ Iron Dome ในการต่อสู้ระหว่างอิสราเอลและกลุ่มฮามาสเมื่อปี 2021
เป็นภาพหญิงสาวถูกเผาทั้งเป็นในประเทศกัวเตมาลา เมื่อปี 2015
เป็นภาพแฟนเพลงในคอนเสิร์ตของ บรูโน มาร์ส ในการแสดงที่ประเทศอิสราเอลเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2023