แนะถอดบทเรียนความขัดแย้งจากการชุมนุม ยุติใช้ความรุนแรง

การชุมนุมเมื่อวันที่ 20 มีนาคมที่ผ่านมา ที่มีภาพความรุนแรงเกิดขึ้นจากการสลายการชุมนุม ทำให้มีผู้บาดเจ็บทั้งฝั่งผู้ชุมนุม เจ้าหน้าที่ รวมทั้งสื่อมวลชนที่บาดเจ็บระหว่างปฏิบัติหน้าที่ มีความเห็นจากนักวิชาการด้านสันติวิธี แนะให้ทั้งฝ่ายรัฐและผู้ชุมนุมถอดบทเรียนที่เกิดขึ้น ป้องกันไม่ให้เกิดเป็นความขัดแย้งรุนแรงขึ้นอีกในอนาคต

แค่หยอกสื่อฯ ไม่ควรเป็นเรื่องใหญ่

ทำเนียบ 11 มี.ค.- อนุทิน เผย นายกฯ หยอกสื่อฯ ชี้ แอลกอฮอล์ไม่ใช่สารพิษอันตราย เชื่อเหตุนี้จะทำสัมพันธ์ สื่อ-รัฐมนตรี ระมัดระวังมากขึ้น

มรสุมชีวิต “ลุงพล” ถูกฉายภาพลบผ่านสื่อ

กรุงเทพฯ 20 ม.ค. – หลังจากที่นายไชย์พล วิภา หรือ “ลุงพล” งานเข้า ปรากฏภาพทำร้ายสื่อมวลชน ถูกคดีครอบครองไม้หวงห้าม และมีข่าวลบๆ ตามมาต่อเนื่อง ทั้งยังมีท่าทีเปลี่ยนไป นักวิชาการด้านสื่อสารมวลชน ได้วิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นว่า ส่วนหนึ่งมาจากการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน และอาจมีเรื่องผลประโยชน์มาเกี่ยวข้อง. – สำนักข่าวไทย

ชี้ความเชื่อมั่นรัฐบาล-สื่อทั่วโลกลดลง

ลอนดอน 13 ม.ค. – ความเชื่อมั่นของประชาชนทั่วโลกที่มีต่อรัฐบาล ผู้นำธุรกิจ และสื่อมวลชนมีแนวโน้มลดลงจากการรับรู้การจัดการที่ผิดพลาดของผู้นำประเทศในการรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 และความรู้สึกของประชาชนธรรมดาที่ว่าพวกเขากำลังถูกชักนำให้เข้าใจผิด ผลการสำรวจความคิดเห็นเรื่องความไว้วางใจจัดทำโดยเอเดลแมน ทรัสต์ บารอมิเตอร์ (Edelman Trust Barometer) พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 57 มีความเชื่อว่าผู้นำรัฐบาล ผู้นำธุรกิจ และสื่อมวลชนเผยแพร่ข้อมูลเท็จหรือกล่าวเกินจริง จากคำตอบเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้สื่อของผู้ตอบแบบสอบถามยังพบว่า มีผู้ที่ยังลังเลและไม่มั่นใจในประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 เพิ่มมากขึ้นในกลุ่มผู้ที่ติดตามข่าวสารผ่านสื่อโซเชียลมีเดีย ผลสำรวจดังกล่าวยังระบุว่า มีผู้ตอบแบบสอบถามเพียงร้อยละ 33 จากทั้งหมด 27 ประเทศทั่วโลกที่ต้องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 โดยเร็วที่สุด และมีอีกกว่าร้อยละ 31 ที่ต้องการฉีดวัคซีนภายใน 1 ปี ในภาพรวมยังพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเชื่อมั่นในสถาบันการเมืองเหลือเพียงร้อยละ 53 ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา ซึ่งลดลงจากเดือนพฤษภาคมปีก่อนที่ทำสถิติสูงสุดถึงร้อยละ 65 โดยเฉพาะในเกาหลีใต้ อังกฤษ และจีน ขณะที่ความเชื่อมั่นในสื่อดั้งเดิมลดลงเหลือร้อยละ 53 จากเดิมที่มีร้อยละ 61 ส่วนความเชื่อมั่นในสื่อโซเชียลมีเดียลดลงเหลือร้อยละ 35 จากร้อยละ 38 นอกจากนี้ […]

ฉายาของรัฐสภา ประจำปี 2563

กรุงเทพฯ 27 ธ.ค. – สื่อมวลชนตั้งฉายาของรัฐสภา ประจำปี 2563 เพื่อสะท้อนการทำงานของฝ่ายนิติบัญญัติ ปีนี้มีหลายเหตุการณ์ที่ต้องจารึกในประวัติศาสตร์การเมืองไทย ฉายาจะดุเด็ดเผ็ดมันขนาดไหน ติดตามจากรายงาน. – สำนักข่าวไทย

รู้เท่าทันสื่อในสถานการณ์ความขัดแย้ง

เมื่อเกิดเหตุการณ์ความขัดแย้ง สื่อมวลชนที่นำเสนอข่าวต้องตรวจสอบ คัดกรองเนื้อหาตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ แต่อาจยังมีข้อจำกัดในการรายงานสถานการณ์สด ขณะที่คนรับสื่อรับจากหลายแหล่ง ต้องมีสติ แยกแยะข้อเท็จจริง ออกจากความคิดเห็นที่ถูกปรุงแต่งเพิ่มเติมลงไป

6 องค์กรวิชาชีพสื่อ แถลงการณ์ร่วมตรวจสอบ-ระงับสื่อมวลชนในสถานการณ์ชุมนุม

6 องค์กรวิชาชีพสื่อมวลชนแถลงการณ์ร่วมเรื่อง การตรวจสอบ-ระงับสื่อมวลชนในการสถานการณ์การชุมนุมที่มีความละเอียดอ่อน

คู่มือเตรียมพร้อมนักข่าวสายม็อบ

ทุกครั้งที่มีการชุมนุม สื่อมวลชนถือเป็นอาชีพแรกๆที่จะต้องเข้าไปปฏิบัติงานอยู่ในเหตุการณ์ บางครั้งสถานการณ์เข้มข้น มีการยกระดับทั้งผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ อาจได้เห็นข่าวสื่อมวลชนได้รับบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต จากการปฏิบติงาน วันนี้พาไปดูความพร้อมของผู้สื่อข่าวและช่างภาพ ว่าพวกเขาเตรียมตัวอย่างไรก่อนไปปฏิบัติงาน

ส.ผู้ผลิตข่าวออนไลน์ ชวนสื่อส่งผลงานประกวดข่าวดิจิตอลยอดเยี่ยม ปี 2563

สมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์ (SONP) ขอเชิญสื่อมวลชนร่วมส่งผลงานข่าวออนไลน์ เข้าร่วมประกวด “รางวัลข่าวดิจิตอลยอดเยี่ยม ประจำปี 2563” (Digital News Excellence Awards 2020) ชิงโล่เกียรติยศ พร้อมเงินรางวัลกว่า 50,000 บาท

สื่อกับการรายงานข่าวการชุมนุม

กรุงเทพฯ 16 ก.ย. – การชุมนุมใหญ่ของกลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม วันที่ 19 กันยายนนี้ แน่นอนว่า สื่อมวลชนต้องเข้าไปเกาะติดสถานการณ์ สื่อมวลชนควรปฏิบัติอย่างไร ติดตามจากรายงาน. – สำนักข่าวไทย

1 2 3 4 5 6 9
...