ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : วิธีตรวจตาด้วยตัวเอง

2 มกราคม 2568 – หลากหลายปัญหาทางดวงตา อาจเกิดขึ้นได้โดยไม่ทันสังเกต เราอาจรู้ตัวได้ง่าย ๆ ผ่านหลากหลายวิธีที่ทำได้ที่บ้าน ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย (สัมภาษณ์เมื่อ 18 ธันวาคม 2567) วิธีตรวจตาเบื้องต้น ข้อควรระวัง สรุป การตรวจตาเบื้องต้นเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกในการตรวจสอบสุขภาพตาของเราเอง หากพบความผิดปกติทางสายตา ควรปรึกษาแพทย์ทันที ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ภาวะการมองเห็นภาพบิดเบี้ยว

6 ธันวาคม 2567 – ภาวะการเห็นภาพบิดเบี้ยวเกิดจากสาเหตุใด จะเกิดขึ้นกับคนกลุ่มไหน และจะเป็นสัญญาณอันตรายหรือไม่ ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ภาวะการมองเห็นภาพซ้อน

5 ธันวาคม 2567 – ภาวะการเห็นภาพซ้อน เกิดจากสาเหตุใด อันตรายหรือไม่ และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ภาวะการมองเห็นภาพซ้อน (Diplopia) สาเหตุของการมองเห็นภาพซ้อน แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ คำแนะนำ หากพบอาการภาพซ้อน ควรรีบพบจักษุแพทย์เพื่อวินิจฉัยหาสาเหตุและรับการรักษาที่ถูกต้อง การรักษา ขึ้นอยู่กับสาเหตุ สัมภาษณ์เมื่อ : 12 พฤศจิกายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : รู้จัก แร็กพวงมาลัยรถยนต์

26 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับ แร็กพวงมาลัยว่า มีหน้าที่อย่างไร แบ่งเป็นกี่รูปแบบ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ คุณสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ แร็คพวงมาลัยคืออะไร? 1. แบบ Worm and Pion (เฟืองแบบตัวหนอน) 2. แบบไฮดรอลิก (พาวเวอร์) 3. แบบไฟฟ้า สรุป : แร็กพวงมาลัยแต่ละแบบมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับการใช้งานและเทคโนโลยีในยุคนั้น ๆ สัมภาษณ์เมื่อ : 25 ตุลาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : แมลงวัน

21 พฤศจิกายน 2567 – ทำไมแมลงวันเข้ามาในบ้าน เมื่อแมลงวันตอมอาหารยังกินต่อได้หรือไม่ แมลงวันจะแพร่เชื้อสู่คนได้อย่างไร และจะมีวิธีการจัดการกับแมลงวันด้วยวิธีไหน ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.รัชฎาวรรณ เงินกลั่น รองหัวหน้าศูนย์วิจัยและเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านกีฏวิทยาชุมชนและสิ่งแวดล้อม และ อาจารย์ประจำ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทำไมแมลงวันถึงเข้าบ้าน? แมลงวันเลือกตอมอาหารที่สกปรกหรือไม่? แมลงวันแพร่เชื้อสู่คนได้อย่างไร? วิธีจัดการกับแมลงวัน ข้อควรจำ รักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ เพื่อป้องกันเชื้อโรคจากแมลงวัน สัมภาษณ์เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปวดหัว ยิ่งกินยา ยิ่งติดยา จริงหรือ ?

11 พฤศจิกายน 2567 – ปวดหัวแค่ไหน ถึงควรใช้ยา จริงหรือไม่ ยิ่งปวดหัว ยิ่งกินยา ยิ่งติดยา และทำให้ยิ่งปวดหัวกว่าเดิม 🎯 ตรวจสอบกับ อ.นพ.ประกิต อนุกูลวิทยา อายุรแพทย์โรคระบบประสาท คลินิกโรคปวดศีรษะ สาขาวิชาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย กรรมการชมรมศึกษาโรคปวดศีรษะ ภายใต้สมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับยาแก้ปวดหัว ยาแก้ปวดหัวมี 2 กลุ่ม ได้แก่ คำแนะนำในการใช้ยาแก้ปวด สัมภาษณ์เมื่อ : 24 ตุลาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : แพ้ยา ทำให้ตาบอด

27 กันยายน 2567 โรคสตีเว่นจอนห์นสันคืออะไร ส่งผลต่อดวงตา และทำให้ตาบอดได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 17 สิงหาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : สาเหตุและการรักษาโรคเส้นเลือดขอด

19 กันยายน 2567 หลอดเลือดขอด หรือเส้นเลือดขอดคืออะไร เกิดได้จากสาเหตุใด และจะมีวิธีการป้องกันและรักษาอย่างไร ? ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.เทิดภูมิ เบญญากร สาขาวิชาศัลยศาสตร์หลอดเลือด ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นเลือดขอด คืออะไร เส้นเลือดขอด เป็นภาวะที่หลอดเลือดดำบริเวณใกล้ชั้นผิวหนังขยายตัวผิดปกติ เกิดเป็นแรงดันที่หลอดเลือดดำ ซึ่งทำให้เส้นเลือดโป่งพองสีเขียวคล้ำ สาเหตุการเกิดเส้นเลือดขอด -เกิดจากความดันในหลอดเลือดดำขณะยืน เดินนาน ๆ การนั่งไขว่ห้าง และการใส่ส้นสูง ทำให้การไหลเวียนของเลือดไม่สะดวกจึงทำให้เส้นเลือดโป่งพองขึ้น -ผู้หญิงมีโอกาสเกิดเส้นเลือดขอดมากกว่าผู้ชาย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในผู้หญิง การตั้งครรภ์ การรับประทานยาคุมกำเนิด เป็นต้น -น้ำหนักตัวที่มากเกินไป ทำให้เกิดแรงดันสูงขึ้นภายในหลอดเลือดที่บริเวณขา เป็นเหตุให้เกิดเส้นเลือดขอดที่ขาได้ -อายุเพิ่มขึ้น จะพบเส้นเลือดขอดมากขื้น  เนื่องจากความยืดหยุ่นของเส้นเลือดและความแข็งแรงของลิ้นหลอดเลือดลดน้อยลง แนวทางในการรักษาเส้นเลือดขอด เริ่มจากการใส่ถุงน่องความดัน ทางการแพทย์ที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ ถุงน่องจะช่วยให้กล้ามเนื้อบริเวณน่องขาบีบตัวได้ดีขึ้น ควบคู่ไปกับการรับประทานยา หากไม่ดีขึ้นแพทย์อาจจะพิจารณาเรื่องการผ่าตัดเอาเส้นเลือดออก แต่ในปัจจุบันมีเทคโนโลยีการรักษาแบบใหม่การใช้สายสวน อาจจะใช้ความร้อนหรือกาวมาอุดบริเวณเส้นเลือดขอด สัมภาษณ์เมื่อ : 19 สิงหาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ริดสีดวงที่ดวงตา

12 กันยายน 2567 – ริดสีดวงที่ดวงตา เกิดขึ้นได้อย่างไร อันตรายแค่ไหน และควรป้องกันอย่างไร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 13 สิงหาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : MPOX ฝีดาษวานร สายพันธุ์ เคลด

27 สิงหาคม  2567 MPOX หรือ ฝีดาษวานร สายพันธุ์เคลด เป็นอย่างไร รุนแรงแค่ไหน และเราควรรับมืออย่างไร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ แพทย์หญิงภัทริยา จิรวัฒนาดล อาจารย์แพทย์ภาควิชาตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และ แพทย์หญิงลานทิพย์ เหราบัตย์ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดชลบุรี กรมควบคุมโรค ฝีดาษลิง เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับเชื้อไวรัสโรคไข้ทรพิษ (Smallpox)   MPOX ติดต่อกันง่ายแค่ไหน ? ไม่ได้ติดต่อกันง่ายขนาดนั้น แต่เอ็มพอกซ์นั้นติดต่อได้ เฉพาะในกรณีที่มีการสัมผัสใกล้ชิดหรือคลุกคลีกันเป็นเวลานานกับผู้ติดเชื้อ ตัวอย่างเช่นผิวหนังเกิดสัมผัสกันโดยตรง, มีเพศสัมพันธ์, รวมทั้งการมีปฏิสัมพันธ์แบบพบปะเห็นหน้าค่าตากันโดยตรงเป็นเวลานานด้วย

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ความรุนแรงและอาการไวรัสตับอักเสบ

15 สิงหาคม 2567  ไวรัสตับอักเสบ แต่ละชนิดมีอาการอย่างไร รุนแรงแค่ไหน และจะมีวิธีการป้องกันอย่างไร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.ทวีศักดิ์ แทนวันดี เลขาธิการมูลนิธิตับแห่งประเทศไทย หัวหน้าสาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สัมภาษณ์เมื่อ : 23 กรกฎาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : เข้าใจการบำรุงตา

24 มิถุนายน 2567 บำรุงสายตา ทำด้วยวิธีใดได้บ้าง เราต้องการกินหรือทำอะไร ที่จะทำให้ดวงตาของเราดีขึ้นกว่าเดิม 🎯 ตรวจสอบกับ พันโท นายแพทย์ ศีตธัช วงศ์กุลศิริ ประธานคณะทำงานฝ่ายวิชาการด้านส่งเสริมสุขภาพตาเพื่อสังคม ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 25 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

1 2 3 9
...