ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ตาบอดกลางคืน

23 พฤษภาคม 2567 – ตาบอดกลางคืนเกิดจากสาเหตุใด เป็นอันตรายหรือไม่ และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 30 เมษายน 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย :  พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ตาเขม่น หรือตากระตุก

17 พฤษภาคม 2567 – ตาเขม่นคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 30 เมษายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : เด็กขยิบตา หรือ กะพริบตาบ่อย

12 พฤษภาคม 2567 – เด็กขยิบตา หรือกะพริบตาบ่อย ๆ เกิดจากสาเหตุใด เป็นอันตรายหรือไม่ และผู้ปกครองควรทำอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 30 เมษายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ภาวะตาสั่น

9 พฤษภาคม 2567 – ภาวะตาสั่นคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 30 เมษายน 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : รู้จักและเข้าใจ มะเร็งปากมดลูก

2 พฤษภาคม 2567 – มะเร็งปากมดลูกคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการป้องกันอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.พญ.สฤกพรรณ วิไลลักษณ์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก หรือ วัคซีน HPV

28 เมษายน 2567 วัคซีนมะเร็งปากมดลูกมีกี่ชนิด เหมาะกับใคร และควรฉีดตั้งแต่อายุเท่าไหร่ ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.พญ.สฤกพรรณ วิไลลักษณ์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : หนังตาม้วนเข้า – ม้วนออก

25 เมษายน 2567 หนังตาม้วนเข้าและหนังตาม้วนออก คืออะไร เกิดได้จากสาเหตุใด อันตรายหรือไม่ และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย อาการหนังตาม้วนเข้า หนังตาม้วนออก ภาวะหนังตาม้วนเข้าหรือหนังตาม้วนออก อาจทำให้มีปัญหากับกระจกตาดำ ทำให้ขอบของเปลือกตา ขนตา และหนังตาหมุนเจ้าไปเสียดสีกับลูกตาทำให้เกิดอาการระคายเคืองตาแดง น้ำตาไหล มีขี้ตา หรือในกรณีที่เป็นมาก อาจมีอาการกระจกตาอักเสบได้ สาเหตุที่ทำให้หนังตาม้วนเข้า 1.มีภาวะเป็นแต่กำเนิด ส่วนใหญ่พบในเด็กที่มีน้ำหนักตัวเยอะ ทำให้เกิดภาวะขนตาล่างม้วนในเด็ก มีสาเหตุจากเปลือกตาม้วนเข้าจากผิวเปลือกตาส่วนเกิด ดันให้ขนตาล่างม้วนเข้าด้านในสัมผัสกับกระจกตา เด็กที่มีภาวะนี้จะตาแดง เคืองตาบ่อย มีขี้ตาเยอะ 2.การทำงานเปลือกตามีภาวะผิดปกติ หรือการได้รับอุบัติเหตุ โครงหน้าเปลี่ยน ทำให้เปลือกตาไม่อยู่ในตำแหน่งตามธรรมชาติ อาจจะต้องรักษาด้วยการผ่าตัด 3.อายุมากขึ้น เมื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะหนังตาหย่อนเอ็นยึดเปลือกตาหย่อนคล้อย กล้ามเนื้อดึงขนตาทำงานได้ไม่ดีเท่าเดิม จะเกิดภาวะหนังตาม้วนเข้า ทำให้ขนตาเสียดสีกับกระจกตา ทำให้ให้รู้สึกระคายเคืองดวงตา การรักษา 1.หากมีอาการเพียงเล็กน้อย การรักษาคือหยอดน้ำตาเทียมหล่อลื่นลูกตา ลดการเสียดสี  2.ในกรณีที่ใช้น้ำตาเทียมแล้วอาการไม่ดีขึ้น มีอาการระคายเคืองตาตลอดเวลา ควรรีบปรึกษาจักษุแพทย์ สัมภาษณ์เมื่อ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : เจ็บตาเหมือนมีเข็มทิ่มตา

14 เมษายน 2567 – เจ็บตาเหมือนมีเข็มทิ่มตา เกิดได้จากสาเหตุใด อันตรายหรือไม่ และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : รู้จักและเข้าใจ วิธีพ่วงแบตฯ รถยนต์

16 เมษายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับแบตเตอรี่ 12 โวลต์ของรถยนต์ว่า สาเหตุที่ทำให้แบตฯ หมด คืออะไร เมื่อแบตหมดแล้ว ต้องทำอย่างไร และสายพ่วงแบตฯ ที่ควรเลือกซื้อ ต้องเป็นแบบใด ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 11 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : แสบตา

แสบตา เกิดได้จากสาเหตุใดได้บ้าง และอาการแสบตาจะเป็นอันตรายต่อดวงตาแค่ไหน ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 มีนาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : วิตามินดีในเห็ด

29 มีนาคม 2567 – เห็ดมีวิตามินดี มากแค่ไหน และถ้านำเห็ดไปตากแดด จะทำให้มีวิตามินดีเพิ่มขึ้นจริงหรือไม่ ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ บทสรุป : จริง แชร์ได้ ✅ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.ครรชิต จุดประสงค์ อาจารย์ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล การนำเห็ดไปตากแดด จะทำให้สร้างวิตามินดี 2 เห็ดที่มีปริมาณวิตามินดีสูงสุด ได้แก่ เห็ดนางฟ้า มีวิตามินดีปริมาณ 15 ไมโครกรัม ต่อ 100 กรัม ซึ่งถือว่าเพียงพอกับปริมาณวิตามินดีต่อวันตามที่ร่างกายต้องการ รองลงมาเป็น เห็ดโคน เห็ดหลินดำ ในตัวเห็ดมีสารตั้งต้น ชื่อ เออโกรเซอรอล เมื่อได้รับแสงสารเห็ดก็พร้อมจะสร้างวิตามินดีอยู่ตลอด สารตั้งต้นก็จะอยู่ในหมวกเห็ด ก้านเห็ด จากการทดลองนำเห็ดเข็มทองไปฉายแสงยูวีบี พบว่า วิตามินดีก่อนฉายแสงยูวีบี 0.77 ไมโครกรัม ต่อ 100 กรัม หลังฉายแสงยูวีบี สองด้าน 60 นาที […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : การป้องกันปัจจัยเสี่ยงโรคพาร์กินสัน

25 มีนาคม 2567 ปัจจัยเสี่ยงที่อาจก่อโรคพาร์กินสันได้มีอะไรบ้าง และจะมีวิธีการป้องกันอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.รุ่งโรจน์ พิทยศิริ หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 10 กรกฎาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

1 2 3 4 8
...