ชัวร์ก่อนแชร์: เชื้อเดลต้าลงปอดทันที ตรวจ PCR จึงไม่เจอเชื้อ จริงหรือ?
ผู้เชี่ยวชาญยืนยันว่าลักษณะการติดเชื้อของไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์เดลต้า ไม่แตกต่างจากไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์อื่นๆ และสามารถตรวจหาเชื้อด้วยวิธี PCR หรือ Swab ได้
ผู้เชี่ยวชาญยืนยันว่าลักษณะการติดเชื้อของไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์เดลต้า ไม่แตกต่างจากไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์อื่นๆ และสามารถตรวจหาเชื้อด้วยวิธี PCR หรือ Swab ได้
งานวิจัยในหลายประเทศยืนยันว่าวัคซีนโควิด 19 ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์
1. ตุรกีระงับการใช้วัคซีน Sinovac เฉพาะล็อตที่ B18880035A เป็นการชั่วคราว เพราะปัญหาตัวเลขบนขวดและหีบห่อไม่ตรงกัน
2. ผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ในตุรกีพบว่าวัคซีน Sinovac มีประสิทธิผล 83.5%
1. หลายชาติในยุโรปเคยออกคำสั่งระงับการใช้วัคซีน AstraZeneca เป็นการชั่วคราว หลังพบการเกิดลิ่มเลือดอุดตันจากการใช้วัคซีน
2. แต่เมื่อ WHO และ EMA ยืนยันว่าวัคซีนมีประโยชน์มากกว่าความเสี่ยง หลายชาติในยุโรปจึงนำวัคซีน AstraZeneca กลับมาใช้อีกครั้ง
1. วัคซีนหลายชนิดมีเกลืออลูมิเนียมเป็นส่วนประกอบ เพื่อช่วยชะลอการทำงานของสารออกฤทธิ์และกระตุ้นให้ระบบภูมิคุ้มกันตอบสนองต่อวัคซีนได้ดียิ่งขึ้น
2. ผู้เชี่ยวชาญต่างยืนยันไม่พบหลักฐานว่าสารอลูมิเนียมก่อให้เกิดโรคอัลไซเมอร์แต่อย่างใด
1. Luciferin คือสารสร้างการเรืองแสงทางชีวภาพในหิ่งห้อย
2. FDA ยืนยันว่าไม่มี Luciferin อยู่ในวัคซีนโควิด 19 ของ Moderna
3. มีแค่การใช้เอนไซม์ Luciferase ในการวิจัยไวรัสโควิด 19 เท่านั้น
1. โพลีซอร์เบต 80 และ ออกโทซินอล 10 เป็นสารที่ใช้ในวัคซีนไข้หวัดใหญ่เพื่อเพิ่มความคงตัวในวัคซีนและขัดขวางการออกฤทธิ์ของไวรัสเชื้อตายในวัคซีน
2. ใช้ในปริมาณน้อยและไม่ทำให้ผู้รับวัคซีนเป็นหมัน
แม้สรรพคุณของใบพลูจะช่วยบรรเทาปวดและช่วยส่งเสริมภูมิคุ้มกัน แต่ WHO ยืนยันว่าการบริโภคใบพลูต้มสุกไม่สามารถรักษาการป่วยจากโควิด 19 ได้
1. เต้านมของผู้หญิงจะขยายตัวตามการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกายหรือจากการใช้ยาบางชนิด
2. วัคซีนโควิด 19 ไม่มีฮอร์โมนกระตุ้นการขยายเต้านมเป็นส่วนประกอบของวัคซีนแต่อย่างใด
1. WHO ยืนยันว่าสุราไม่ช่วยป้องกันโควิด 19 และยังทำให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ
2. การดื่มสุราไม่ว่าจะในปริมาณเท่าไหร่ จะส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
1. หน่วยงาน CSIR ในอินเดียยืนยันว่าผลวิจัยไม่อาจสรุปได้ว่าการสูบบุหรี่และการกินมังสวิรัติช่วยป้องกันเชื้อโควิด 19
2. WHO ย้ำว่ายังไม่มีงานวิจัยที่มีบทสรุปเรื่องความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19 ในกลุ่มผู้สูบบุหรี่
1. เป็นข้ออ้างโดยนักวิทยาศาสตร์ผู้มีแนวติดต่อต้านวัคซีน
2. สถาบันการแพทย์แห่งชาติสหรัฐ (NAM) ยืนยันไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างวัคซีนและโรคเบาหวานแต่อย่างใด