
เกษตรสร้างชาติ : พัฒนาสายพันธุ์ควายอุทัยธานี
วันที่ 14 พฤษภาคมของทุกปี เป็นวันอนุรักษ์ควายไทย มีเกษตรกรจังหวัดอุทัยธานี รื้อฟื้นการเลี้ยงควายพื้นเมืองกันมากขึ้น ควายอุทัยธานีมีลักษณะเฉพาะเนื่องจากมีเชื้อควายป่าห้วยขาแข้ง
วันที่ 14 พฤษภาคมของทุกปี เป็นวันอนุรักษ์ควายไทย มีเกษตรกรจังหวัดอุทัยธานี รื้อฟื้นการเลี้ยงควายพื้นเมืองกันมากขึ้น ควายอุทัยธานีมีลักษณะเฉพาะเนื่องจากมีเชื้อควายป่าห้วยขาแข้ง
เกษตรกรท่านหนึ่งใน อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี เคยประสบปัญหาปลูกส้มไม่ได้ผลผลิต ขาดทุนอยู่หลายปี จึงเปลี่ยนมาปลูกพืชผสมผสานปลอดสารเคมี มีรายได้หมุนเวียนตลอดปี
ที่ อ.พุทธมณฑล สำนักงานเกษตรจังหวัดนครปฐม และเกษตรอำเภอ ส่งเสริมเกษตรกรรายหนึ่งที่ปลูกกุยช่าย พัฒนาแปลงของตนเองเป็นเกษตร GAP ลดการใช้สารเคมีได้
กลุ่มเกษตรกร ต.หนองงูเหลือม อ.เมือง จ.นครปฐม ทำเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสานมา 4 ปีแล้ว ขณะนี้คิดต่อยอดสร้างรายได้ให้ชุมชน ด้วยการนำการท่องเที่ยวเข้ามาร่วมด้วย
เกษตรกร จ.ขอนแก่น พอใจโครงการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งหลังนา แห่ร่วมโครงการจนพื้นที่ปลูกเกินเป้าหมายเกือบเท่าตัว
เกษตรสร้างชาติ วันนี้พาไปที่ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งชาวบ้านรวมกลุ่มปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ โดยเฉพาะผักสวนครัว เพื่อส่งออกไปจำหน่ายยังยุโรป ที่สำคัญพวกเขากำหนดราคาจำหน่ายแบบคงที่ ไม่ว่าราคาในตลาดจะปรับขึ้นหรือลง
รมว.เกษตรฯ ตรวจเยี่ยมผลการปรับฤดูกาลเพาะปลูกทุ่งลุ่มเจ้าพระยาปีที่ 2 ซึ่งปีที่แล้วประสบผลสำเร็จที่นาข้าวที่ลุ่มต่ำเก็บเกี่ยวทันน้ำหลาก และปีนี้จะส่งเสริมอาชีพเกษตรกรให้หลากหลายขึ้น
เกษตรกร ต.บ้านใหม่หนองไทร อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว พลิกผืนนาปลูกองุ่นไร้เมล็ด ซึ่งเป็นผลไม้เมืองหนาวถึง 3 สายพันธุ์ จนประสบผลสำเร็จ ถือเป็นแห่งแรกและแห่งเดียวของ อ.อรัญประเทศ
กรมชลประทานเริ่มผันน้ำเข้าทุ่งในโครงการบางระกำโมเดล เกษตรกรในพื้นที่ต่างดีใจที่สามารถปลูกข้าวได้ก่อนที่อื่น และเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ทัน ไม่ถูกน้ำท่วม ประสบความสำเร็จเหมือนปีที่แล้ว
อำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น เป็นอำเภอแรกของประเทศที่ประสบความสำเร็จโครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศุสัตว์เป็นเจ้าของโครงการ
เกษตรสร้างชาติวันนี้ พาไปพบกับเกษตกรหนุ่มดีกรีปริญญาตรี ตำบลมดแดง อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี ปรับพื้นที่นา 50 ไร่ มาปลูกคะน้าพันธุ์ไต้หวัน หรือคะน้ายักษ์ ลำต้นใหญ่ สูงเกือบ 2 ฟุต ทนโรค น้ำหนักต่อต้น 6-7 ขีด สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำ
ช่วงฤดูร้อนต่อเนื่องถึงต้นฤดูฝน เป็นช่วงที่กล้วยไม้สกุลเอื้องจะออกดอกให้ได้ชม ปีหนึ่งออกเพียงครั้งเดียว กล้วยไม้นั้นเดิมเป็นกล้วยไม้ป่า แต่ปัจจุบันนำมาเพาะเนื้อเยื่อ ผสมให้ได้สายพันธุ์ใหม่โดยไม่ต้องไปรบกวนธรรมชาติแล้ว