ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : HUMBLE BRAG ? — แสร้งถ่อมตน โรคฮิตในโซเชียล

5 สิงหาคม 2566 สิ่งนี้…คือพฤติกรรมการแสร้งถ่อมตน สิ่งนี้…เป็นเหมือนโรคฮิตใน Social Media และ สิ่งนี้…เกิดกับทุก Platform ซึ่งส่งผลทำให้ขาดความตระหนักถึงคุณค่าในตัวเอง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบกับชัวร์ก่อนแชร์ Keyword และคำนั้นก็คือ ? HUMBLE BRAG ? HUMBLE BRAG คือ พฤติกรรมของคนชอบอวด แต่แฝงว่าถ่อมตัวเพื่อให้คนอื่นคิดว่าเราไม่ได้ตั้งใจจะอวด คำนี้เป็นการผสมคำว่า Humble ที่แปลว่า ถ่อมตัว กับ Brag ที่แปลว่าโอ้อวด พฤติกรรมที่เห็นบ่อย ๆ บนโซเชียลมีเดีย คือการโพสต์รูปภาพ แบ่งปันเรื่องราวที่เกิดขึ้นให้เพื่อน ๆ รู้​ และหลายครั้งสิ่งที่โพสต์บนโซเชียลมีเดียดูเหมือนจะเป็นการโอ้อวด กลับกัน Humblebrag จะเป็นอีกแบบหนึ่งที่แฝงด้วยการแสดงว่าถ่อมตัว เช่น “อ้วนมากเลย” ซึ่งในความเป็นจริงเพื่ออยากให้คนอื่นมาบอกว่า “นี่อ้วนเหรอ ไม่นะ จริง ๆ เธอผอมมากเลย” เป็นการพยายามที่จะถ่อมตัวว่าตนเองไม่ควร หรือไม่ดีพอที่จะได้รับสิ่งนั้น แต่คนอื่นกลับบอกว่าตนเองเหมาะสมที่จะได้รับสิ่งนั้น เมื่อมีพฤติกรรมถ่อมตัว Humblebrag […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FactINFOcus : เปลือกส้มรักษาสิวได้ จริงหรือ ?

ตามที่มีการแชร์ว่าเปลือกส้มรักษาสิวได้นั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นพ.นภดล นพคุณ อาจารย์พิเศษภาควิชาอายุรกรรม สาขาวิชาตจวิทยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย “อาจเกิดการระคายเคือง เปลือกส้มไม่มีคุณสมบัติรักษาสิวอุดตัน สิวอักเสบและยังไม่มีการยืนยันว่าวิตามินซีที่อยู่ในเปลือกส้มจะเพียงพอต่อกระบวนการสังเคราะห์คอลลาเจนขึ้นมาจะรักษารอยแผลเป็นที่เกิดจากสิวได้ เพราะปริมาณวิตามินซีที่จะช่วยสร้างคอลลาเจนได้ต้องมีปริมาณที่สูงมาก”

ชัวร์ก่อนแชร์ : บอระเพ็ดแช่โซดา บรรเทาชาปลายประสาทได้ จริงหรือ ?

6 สิงหาคม 2566 – ตามที่มีการแชร์สูตรบอระเพ็ดแช่โซดา ดื่มหลังอาหารทุกวัน ช่วบรรเทาอาการชาปลายมือปลายเท้า เส้นตึงเส้นยึดและแก้ปวดได้นั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พล.ต. รศ.นพ. สามารถ นิธินันทน์ อายุรแพทย์ สาขาประสาทวิทยา กรรมการสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย กล่าวว่า “ยังไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยันว่าสูตรนี้ใช้ได้ผล บอระเพ็ดและโซดาไม่มีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการชา อาการเส้นตึง เส้นยึด และชา มาจากพฤติกรรมการทำงาน เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ มือถือ ไอแพด ภาษาแพทย์เรียกว่า กลุ่มออฟฟิศซินโดรม (office syndrome) ถ้าอาการน้อย ๆ จะมีอาการปวดที่บริเวณ คอ บ่า ไหล่ แต่หากมีอาการมากก็ที่มือ” แพทย์กล่าวต่อว่า “ถ้าเรารู้ว่าสาเหตุการปวดมาจากการทำงาน ควรปรับพฤติกรรมใหม่ แต่ก็มีบางงานที่เราเลี่ยงไม่ได้ หากมีอาการปวด หรือ ตึง ก็ให้ยืดกล้ามเนื้อ หรือประคบอุ่น มาประคบที่บ่า ไหล่ […]

เทรนด์ภัยไซเบอร์ในปี 2023 ตอนที่ 3| ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST | THE CYBER MINDSET

2 สิงหาคม 2566 มาต่อกับตอนที่ 3 ในข้อที่ 6-10 ของเทรนด์ภัยไซเบอร์ในปี 2023 ว่าจะเป็นแบบไหน ล้ำยุคไปขนาดใด และเราจะต้องต่อกรรับมืออย่างไร ได้ในชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST ซีรีส์ THE CYBER MINDSET กับ “อาจารย์ปริญญา หอมเอนก” ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยไซเบอร์ ดำเนินรายการโดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ ซีรีส์ THE CYBER MINDSET จะนำเสนอเนื้อหาที่ช่วยตอบข้อสงสัยและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข่าวในโลกไซเบอร์ที่อาจใกล้ตัวคุณผู้ฟังมากกว่าที่คิด เพื่อลดความเสี่ยงการถูกโจรกรรมทางออนไลน์และเสริมภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้ไม่ตกเป็นเหยื่อจากความไม่รู้เท่าทัน คุณผู้ฟังคิดว่าภัยไซเบอร์ในปี 2023 จะล้ำหน้าจนเกินความควบคุมของเราหรือไม่ ? #THECYBERMINDSET#ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST รู้ทันไซเบอร์ สร้างความเข้าใจ ใช้งานปลอดภัยไปกับ #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST พอดแคสต์ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันสื่อ สังคม ภัยไซเบอร์และเข้าถึงข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน จัดทำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท

เทรนด์ภัยไซเบอร์ในปี 2023 ตอนที่ 2| ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST | THE CYBER MINDSET

1 สิงหาคม 2566 มาต่อกับตอนที่ 2 ของเทรนด์ภัยไซเบอร์ในปี 2023 ว่าจะมีหน้าตาแบบไหน ล้ำยุคไปขนาดใด และเราจะต้องต่อกรรับมืออย่างไร ได้ในชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST ซีรีส์ THE CYBER MINDSET กับ “อาจารย์ปริญญา หอมเอนก” ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยไซเบอร์ ดำเนินรายการโดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ ซีรีส์ THE CYBER MINDSET จะนำเสนอเนื้อหาที่ช่วยตอบข้อสงสัยและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข่าวในโลกไซเบอร์ที่อาจใกล้ตัวคุณผู้ฟังมากกว่าที่คิด เพื่อลดความเสี่ยงการถูกโจรกรรมทางออนไลน์และเสริมภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้ไม่ตกเป็นเหยื่อจากความไม่รู้เท่าทัน คุณผู้ฟังคิดว่าภัยไซเบอร์ในปี 2023 จะล้ำหน้าจนเกินความควบคุมของเราหรือไม่ ? #THECYBERMINDSET #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST รู้ทันไซเบอร์ สร้างความเข้าใจ ใช้งานปลอดภัยไปกับ #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST พอดแคสต์ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันสื่อ สังคม ภัยไซเบอร์และเข้าถึงข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน จัดทำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท

เทรนด์ภัยไซเบอร์ในปี 2023 ตอนที่ 1| ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST | THE CYBER MINDSET

31 กรกฎาคม 2566 ภัยไซเบอร์ในปี 2023 จะมีหน้าตาแบบไหน ล้ำยุคไปขนาดใด และเราจะต้องต่อกรรับมืออย่างไร มาร่วมคาดการณ์เทรนด์ของภัยไซเบอร์และหาวิธีป้องกันภัยเหล่านี้ได้ในชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST ซีรีส์ THE CYBER MINDSET กับ “อาจารย์ปริญญา หอมเอนก” ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยไซเบอร์ ดำเนินรายการโดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ ซีรีส์ THE CYBER MINDSET จะนำเสนอเนื้อหาที่ช่วยตอบข้อสงสัยและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข่าวในโลกไซเบอร์ที่อาจใกล้ตัวคุณผู้ฟังมากกว่าที่คิด เพื่อลดความเสี่ยงการถูกโจรกรรมทางออนไลน์และเสริมภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้ไม่ตกเป็นเหยื่อจากความไม่รู้เท่าทัน คุณผู้ฟังคิดว่าภัยไซเบอร์ในปี 2023 จะล้ำหน้าจนเกินความควบคุมของเราหรือไม่ ? #THECYBERMINDSET #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST รู้ทันไซเบอร์ สร้างความเข้าใจ ใช้งานปลอดภัยไปกับ #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST พอดแคสต์ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันสื่อ สังคม ภัยไซเบอร์และเข้าถึงข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน จัดทำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สมุนไพรและโรคมะเร็ง จริงหรือ ?

3 สิงหาคม 2023 – มีการแชร์เกี่ยวกับสมุนไพรและโรคมะเร็งเอาไว้มากมาย เช่น การนำใบมะละกอมาคั้นเป็นน้ำช่วยรักษามะเร็งให้หายขาด และการกินผักจิงจูฉ่าย ช่วยบำบัดผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ?! เรื่องไหนจริง เรื่องไหนเท็จ พบคำตอบได้ที่ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST ร้อยเรียงเรื่องฮิต ติดอันดับจากชัวร์ก่อนแชร์ อันดับที่ 1 : มีสมุนไพรที่รักษามะเร็งได้ จริงหรือ ? มีการแชร์สารพัดสูตรรักษามะเร็งที่ปลอดภัย ได้ผลและเป็นธรรมชาติ ด้วยการกินสมุนไพร ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ : รศ.ดร.นพ.วิโรจน์ ศรีอุฬารพงศ์ นายกมะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ “สมุนไพรกำจัดมะเร็งมีความเป็นไปได้จริง แต่อาจไม่ใช่การกินสด ๆ ตามที่แชร์กัน ต้องนำมาผ่านกระบวนการสกัดสารต้านมะเร็งให้มีความเข้มข้นสูงและร่างกายดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้ หากผู้ป่วยจะนำสมุนไพรไปใช้ควรปรึกษาแพทย์เพื่อความปลอดภัย” อันดับที่ 2 : อังกาบหนูรักษามะเร็ง จริงหรือ ? มีการแชร์สรรพคุณของสมุนไพรชื่อ “อังกาบหนู” เพียงแค่ต้มกิน สามารถรักษามะเร็งได้ ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ : ภญ.ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร และ นพ.ขวัญชัย วิศิษฐานนท์ ผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย บทสรุป […]

ชัวร์ก่อนแชร์ : แก้ไฟหน้าเหลืองด้วยน้ำยาทำความสะอาดครัว จริงหรือ ?

ตามที่มีการแชร์คลิปแนะนำวิธีแก้ไฟหน้าเหลืองง่าย ๆ ด้วยน้ำยาทำความสะอาดห้องครัว ให้กลับมาขาวขึ้นนั้น บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์  ⚠️ น้ำยาทำความสะอาดห้องครัวมีฤทธิ์เป็นกรดสามารถทำความสะอาดไฟฟ้ารถที่เหลืองให้ขาวขึ้นได้ แต่ก็จะทำให้กระจกไฟหน้านั้นมัวไม่ใส  เพราะตัวสารเคลือบไฟหน้าถูกกัดจนหมดด้วย และยังทำให้สีของรถที่อยู่บริเวณรอบ ๆ ไฟหน้าที่โดนตัวน้ำยานั้นถูกกัดจนด่างไม่เท่ากับสีส่วนอื่น

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สมุนไพรและโรคเบาหวาน จริงหรือ ?

26 กรกฎาคม 2566 – ตามที่มีการแชร์เกี่ยวกับสมุนไพรและโรคเบาหวานเอาไว้มากมายทั้ง ใบยี่หร่า ช่วยรักษาแผลเบาหวาน และการดื่มน้ำรากใบเตยช่วยให้เบาหวานหายขาดใน 5 วัน ได้ ?! เรื่องไหนจริง เรื่องไหนเท็จ พบคำตอบได้ที่ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST ร้อยเรียงเรื่องฮิต ติดอันดับจากชัวร์ก่อนแชร์ อันดับที่ 1 : สรรพคุณของใบหม่อน จริงหรือ ? มีการแชร์คลิปแนะนำว่าใบหม่อนช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในหลอดเลือด ไปจนถึงยับยั้งการเกิดโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ  ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ : ผศ.ดร.กิตณา แมคึเน็น อาจารย์ภาควิชาโภชนาการและการกำหนดอาหาร คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ “ใบหม่อนมีสาร DNJ สารฟีนอลิก และฟลาโวนอยด์ เป็นสารที่ช่วยคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ แต่ยังไม่มีข้อมูลระบุปริมาณการใช้ใบหม่อนที่แน่ชัด จึงไม่ควรแชร์” อันดับที่ 2 : น้ำรากใบเตยรักษาเบาหวาน 5 วัน จริงหรือ ? มีการแชร์สูตรรักษาเบาหวาน 5 วันหาย 100% ทำเองง่ายๆ แค่เอารากใบเตยมาล้างน้ำ […]

OPEN BANKING | ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST | THE CYBER MINDSET

27 กรกฎาคม 2566 OPEN BANKING คืออะไร และจะมาเปลี่ยนแปลงการทำธุรกรรมทางการเงินการธนาคารไปในทิศทางไหน และเกี่ยวข้องอะไรกับผู้ใช้บริการทางธนาคารอย่างเรา ๆ มาติดตามได้ใน ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST ซีรีส์ THE CYBER MINDSET กับ “อาจารย์ปริญญา หอมเอนก” ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยไซเบอร์ ดำเนินรายการโดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ ซีรีส์ THE CYBER MINDSET จะนำเสนอเนื้อหาที่ช่วยตอบข้อสงสัยและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข่าวในโลกไซเบอร์ที่อาจใกล้ตัวคุณผู้ฟังมากกว่าที่คิด เพื่อลดความเสี่ยงการถูกโจรกรรมทางออนไลน์และเสริมภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้ไม่ตกเป็นเหยื่อจากความไม่รู้เท่าทัน มาร่วมมองอนาคตว่า ในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า รูปแบบการทำธุรกรรมทางธนาคารจะเปลี่ยนไปในทิศทางใด #THECYBERMINDSET #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST รู้ทันไซเบอร์ สร้างความเข้าใจ ใช้งานปลอดภัยไปกับ #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST พอดแคสต์ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันสื่อ สังคม ภัยไซเบอร์และเข้าถึงข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน จัดทำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท

เตรียมพร้อมสู่การธนาคารยุคใหม่ | ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST | THE CYBER MINDSET

26 กรกฎาคม 2023 คุณคิดว่า อนาคตของการเงินและการธนาคารเป็นอย่างไร ? จะมีหน้าตาเป็นแบบไหน และจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด ติดตามได้ใน ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST ซีรีส์ THE CYBER MINDSET กับ “อาจารย์ปริญญา หอมเอนก” ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยไซเบอร์ ดำเนินรายการโดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ ซีรีส์ THE CYBER MINDSET จะนำเสนอเนื้อหาที่ช่วยตอบข้อสงสัยและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข่าวในโลกไซเบอร์ที่อาจใกล้ตัวคุณผู้ฟังมากกว่าที่คิด เพื่อลดความเสี่ยงการถูกโจรกรรมทางออนไลน์และเสริมภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้ไม่ตกเป็นเหยื่อจากความไม่รู้เท่าทัน มาร่วมมองอนาคตว่า ในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า รูปแบบการทำธุรกรรมทางธนาคารจะเปลี่ยนไปในทิศทางใด #THECYBERMINDSET #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST รู้ทันไซเบอร์ สร้างความเข้าใจ ใช้งานปลอดภัยไปกับ #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST พอดแคสต์ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันสื่อ สังคม ภัยไซเบอร์และเข้าถึงข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน จัดทำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ไข้เลือดออก – สังเกตอาการ และ การรักษา

24 กรกฎาคม 2566 – ไข้เลือดออก โรคร้ายที่หลายคนละเลย เราจะรับมือและป้องกันได้อย่างไร ? ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ แพทย์หญิงวรยา เหลืองอ่อน ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดชลบุรี กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า “ไข้เลือดออกเป็นโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรง แต่หากรุนแรงและรักษาไม่ทันก็อาจทำให้เสียชีวิตได้ ปี 2566 ประเทศไทยพบการระบาดของโรคไข้เลือดออกมากขึ้น เดือนมกราคม – กรกฎาคม พบผู้ป่วยไข้เลือดออกรวม 36,000 ราย เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาสูงขึ้นหลายเท่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคตะวันออก ภาคเหนือ ภาคใต้ ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมาพบผู้ป่วยสัปดาห์ละ 5,000 ราย หากเทียบกับปี 2565 จะอยู่ในระดับ 1,000-2,000 ราย และพบผู้เสียชีวิตในประเทศ 32 ราย ส่วนมากเป็นผู้ใหญ่ ปัจจัยเสี่ยงมาจากการได้รับวินิจฉัยว่าเป็นไข้เลือดออกช้าหรือมีภาวะแทรกซ้อน อาการโรค โรคไข้เลือดออกอาจมีอาการแสดงเพียงไข้อย่างเดียว ซึ่งในบางคนอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ปวดเมื่อยตามตัว […]

1 31 32 33 34 35 49