รวบหนุ่มหลอกลงทุน เหยื่อสูญกว่า 31 ล้านบาท
ตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) รวบหนุ่มหลอกลงทุน Forex เทรดทองคำ ผู้เสียหายหลงเชื่อกว่า 100 ราย ความเสียหายกว่า 31 ล้านบาท
ตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) รวบหนุ่มหลอกลงทุน Forex เทรดทองคำ ผู้เสียหายหลงเชื่อกว่า 100 ราย ความเสียหายกว่า 31 ล้านบาท
ตำรวจไซเบอร์รวบเครือข่ายไฮบริดสแกมทักแชทสาววัยทอง หลอกลงทุนซื้อขายเงินดิจิทัล อ้างได้ผลตอบแทนมั่นคง สุดท้ายหมดเงินเกือบ 5 แสนบาท
สตม.รวบหนุ่มอินโดฯ หนีคดีหลอกลงทุน Forex ซุกไทย Overstay นานกว่า 2 ปี
13 มกราคม 2567 สิ่งนี้… ถือเป็นภัยร้ายที่สะเทือนวงการนักลงทุนคริปโต และสิ่งนี้… เคยก่ออาชญากรรมเชิดเงินของนักลงทุนไปได้ถึง 185 ล้านดอลลาร์ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 28 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง
หนีไม่รอด จับได้แล้วหัวหน้าแก๊ง เสธ.ทหาร อ้างชื่อ “มูลนิธิชัยพัฒนา” หลอกลงทุนหลายโครงการ มูลค่าความเสียหายกว่า 1.5 ล้านบาท เบื้องต้นผู้ต้องหารับว่าเป็นผู้ต้องหาตามหมายจับจริง แต่ให้การปฏิเสธตลอดข้อกล่าวหา
ผู้ปกครองนักกอล์ฟเยาวชนไทย ร้องกองปราบฯ ผู้จัดแข่งขันกอล์ฟหลอกลงทุน-ซื้อสินค้า เสียหาย 24 ราย มูลค่า 10 ล้านบาท
รวบแล้ว “ใบเฟิร์น” เน็ตไอดอลสาว ลวงเหยื่อลงทุนร้านตัดผมและร้านทำเล็บ สูญกว่า 10 ล้านบาท ตำรวจเตรียมขยายผลหาผู้ร่วมขบวนการ
ผู้เสียหายร้องกองปราบปราม ช่วยจับกุมเน็ตไอดอลชื่อดัง หลังหลอกลงทุนออมเงิน-ธุรกิจร้านทำเล็บในพื้นที่ภาคเหนือ คาดมีผู้เสียหายตั้งแต่ปี 64 ไม่ต่ำกว่า 40 คน ยอดความเสียหายเบื้องต้นไม่ต่ำกว่า 10 ล้านบาท
กลุ่มผู้เสียหายหอบหลักฐานร้องทนาย หลังถูกหลอกลงทุนเทรดเงินต่างประเทศ สูญเงินกว่า 5,000 ล้านบาท เสียหายเกือบ 5,000 คน แจ้งตำรวจ-ดีเอสไอแล้ว ผ่านมาครึ่งปีคดีไม่คืบ
ตำรวจเชียงใหม่สรุปคดีพบศพหญิงวัย 63 ปี ถูกเผาบริเวณหลังบ้านตนเอง หลังถูกหลอกลงทุนออนไลน์ สูญเงินกว่า 5 ล้านบาท ขณะที่ญาติยังติดใจบางประเด็น
เหตุสลด หญิงวัย 63 ปี ถูกเผาปริศนาในบ้านพัก อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ตำรวจพบจดหมายเขียนถึงลูกด้วยลายมือผู้ตาย ระบุนำเงินไปลงทุน ก่อนถูกหลอกจนหมดตัว สูญเงินหลายล้านบาท
7 ตุลาคม 2566 🎯 ตามที่มีการแชร์ภาพโฆษณา “AIS ชวนลงทุนผ่านสื่อออนไลน์ รับผลตอบแทนสูง” นั้น 📌 บทสรุป : ❌ ไม่จริง ไม่ควรแชร์ต่อเพจปลอม แอบอ้างผู้บริหารของ AIS 🎯 ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบพบว่า บริษัท AIS ออกประกาศยืนยันว่า ข้อความและภาพโฆษณาดังกล่าวไม่เป็นความจริง และทางบริษัทฯ ไม่มีนโยบายและไม่มีการโฆษณา เชิญชวนการลงทุนผ่านช่องทางออนไลน์ หรือสื่อโซเชียลต่าง ๆ ทั้ง เฟซบุ๊ก (Facebook) หรือ ไลน์ (LINE) ทั้งสิ้น 🎯อุบายของคนร้าย จะสร้างเพจเฟซบุ๊กปลอมและจ่ายเงินซื้อโฆษณา ทำให้คนเห็นจำนวนมาก จงใจใช้ภาพโลโก้และภาพผู้บริหารของ AIS เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ รวมถึงใช้คำโฆษณาชวนเชื่อที่ไม่เป็นความจริง ทั้ง การเทรดหุ้นระยะสั้นให้ผลตอบแทนสูงและมือใหม่ก็ลงทุนได้แม้ทุนน้อย หากสนใจจะต้องติดต่อผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ซึ่งจะมีคนร้ายอ้างตัวเป็นเจ้าหน้าที่คอยให้คำแนะนำ จากนั้นจะหลอกล่อให้ผู้เสียหายโอนเงินมากขึ้นเรื่อย ๆ 🎯ในข่าวประชาสัมพันธ์ของ AIS ระบุด้วยว่า การกระทำดังกล่าวเป็นการนำข้อมูลอันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชนเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ฯ […]