รางวัลทุนหมุนเวียนดีเด่น
“กรมบัญชีกลาง” ไม่เพียงแต่ทำหน้าที่ตาม พ.ร.บ.การบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ.2558 กำหนดเฉพาะด้านการกำกับ ติดตามการดำเนินงานของทุนหมุนเวียน กรมบัญชีกลางยังมีบทบาทอื่นๆ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการทำงานทุนหมุนเวียน
“กรมบัญชีกลาง” ไม่เพียงแต่ทำหน้าที่ตาม พ.ร.บ.การบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ.2558 กำหนดเฉพาะด้านการกำกับ ติดตามการดำเนินงานของทุนหมุนเวียน กรมบัญชีกลางยังมีบทบาทอื่นๆ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการทำงานทุนหมุนเวียน
“เป็นหลักประกันหนึ่งของความมั่นคงแห่งชาติด้านยา” คือวิสัยทัศน์ของ “เงินทุนหมุนเวียนโรงงานเภสัชกรรมทหาร” ซึ่งเป็นหนึ่งใน “ทุนหมุนเวียน” ภายใต้การกำกับดูแลของระบบการบริหารทุนหมุนเวียน ประเภทเพื่อการจำหน่ายและผลิต
“เด็กไทยสุขภาพดี สมวัย ก้าวไกลด้วยนวัตกรรมการจัดการอาหาร” กองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา
“เงินทุนหมุนเวียนยาเสพติด” หนึ่งใน “ทุนหมุนเวียน” ภายใต้การกำกับดูแลของระบบการบริหารทุนหมุนเวียน กับภารกิจ “ซื้อ ขายยาเสพติดให้โทษ”
หนึ่งใน “ทุนหมุนเวียน” ภายใต้การกำกับดูแลของระบบการบริหารทุนหมุนเวียนกลุ่มประเภทเพื่อการบริการ มีภารกิจ “พัฒนาโครงข่าย เชื่อมโยงระบบขนส่งสู่ภูมิภาค สร้างความประทับใจ สะดวก ปลอดภัย ด้วยนวัตกรรม” คือ “เงินทุนหมุนเวียนค่าธรรมเนียมผ่านทาง”
24 มิ.ย. – ตอนที่แล้วได้เล่าถึงที่มาและความสำคัญของ “ทุนหมุนเวียน” ซึ่งเป็นการดำเนินงานในรูปแบบของเงินนอกงบประมาณ ไม่ต้องนำส่งรายได้จากการดำเนินงานเป็นรายได้แผ่นดินนั้น แม้ว่าทุนหมุนเวียนมีบทบาทสำคัญในการเป็นกลไกสนับสนุนการดำเนินงานของภาครัฐ ในการดำเนินนโยบายด้านการคลัง เพื่อการกระตุ้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การส่งเสริมสวัสดิการสังคม การกระจายรายได้ และเพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในด้านอื่นๆ อย่างไรก็ดี การอนุญาตให้ส่วนราชการสามารถเก็บเงินนอกงบประมาณประเภททุนหมุนเวียนไว้ใช้จ่ายหมุนเวียนได้โดยไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน อาจเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาในการบริหารจัดการเงิน ของทุนหมุนเวียนที่ขาดประสิทธิภาพ หรือผิดวัตถุประสงค์อันจะส่งผลให้การบริหารเงินแผ่นดินในภาพรวมขาดความต่อเนื่อง ขาดประสิทธิภาพในการตอบสนองนโยบายของรัฐบาล และเพื่อให้การดำเนินงานของทุนหมุนเวียนเหล่านี้ มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ พระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ.2558 จึงให้กรมบัญชีกลางมีหน้าที่ประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียนที่ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล และทุนหมุนเวียนที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลซึ่งกฎหมายไม่ได้บัญญัติเรื่องการประเมินผลไว้เป็นการเฉพาะเป็นประจำทุกปี โดยต้องประเมินในด้านต่างๆ ต่อไปนี้1.ด้านการเงิน2.ด้านการปฏิบัติการ3.ด้านการสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย4.ด้านการบริหารจัดการทุนหมุนเวียน5.ด้านการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร ผู้บริหารทุนหมุนเวียน พนักงาน และลูกจ้าง6.ด้านอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ทั้งนี้ กรมบัญชีกลางกำหนดให้กองกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ เป็นหน่วยงานหลัก โดยมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้1.ดำเนินการเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ2.กำกับดูแลและบริหารเงินนอกงบประมาณ ตลอดจนกำหนดหลักเกณฑ์ เป้าหมาย และแนวทางการพิจารณาการเรียกนำส่งเงินนอกงบประมาณเป็นรายได้แผ่นดิน รวมทั้งการกำกับติดตามการนำส่งเงินรายได้แผ่นดิน3.ดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับเงินนอกงบประมาณ4.จัดทำและพัฒนาฐานข้อมูลเงินนอกงบประมาณของประเทศ ประมวลข้อมูลสารสนเทศและวิเคราะห์รายงานผลการบริหารเงินนอกงบประมาณ5.ดำเนินการเกี่ยวกับการกำหนดหลักเกณฑ์ และการพิจารณาอนุมัติประมาณการรายจ่ายประจำปี หรือประมาณการรายจ่ายเพิ่มเติมของทุนหมุนเวียน และการขอทำความตกลงในการเบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณของหน่วยงานของรัฐ6.ดำเนินการเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย การแต่งตั้ง และการกำกับดูแลกรรมการผู้แทนกระทรวงการคลังและกรรมการอื่นที่เกี่ยวข้องกับเงินนอกงบประมาณ7.ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารทุนหมุนเวียน การจัดตั้ง […]
การขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ทั้งในส่วนของการกระตุ้นเศรษฐกิจ การรักษาเสถียรภาพด้านราคา การกระจายรายได้ เพื่อให้ประเทศชาติมั่นคง เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเกิดความคล่องตัว จำเป็นต้องอาศัย “ทุนหมุนเวียน” มาเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศ
ครม.ให้ทุนหมุนเวียนส่งคืนคลัง 3,112.85 ล้านบาท กลับเป็นรายได้แผ่นดิน
จับตาโชห่วยไทย จะรอดได้อย่างไรในยุคการค้าออนไลน์มาแรง ขณะที่ภาครัฐพยายามหามาตรการช่วยเหลือเต็มที่