ชัวร์ก่อนแชร์: “ซีไอเอ” ยอมรับวางแผนลอบสังหาร “เจเอฟเค” จริงหรือ?

เอกสารเกี่ยวกับการลอบสังหารเจเอฟเคที่เปิดเผยแล้วประมาณ 99% ไม่พบหลักฐานว่า CIA มีส่วนเกี่ยวข้องกับแผนลอบสังหาร

ชัวร์ก่อนแชร์ : บริษัทตรวจ Lab Covid เตือน “เมื่อวานคืนเดียว ตรวจพบเกือบ 100 ราย” จริงหรือ ?

บนสังคมออนไลน์แชร์ข้อความ “เจ้าของบริษัทตรวจ lab เชื้อ covid แห่งหนึ่ง เตือนให้ระวังการระบาดใหญ่รอบใหม่ คืนเดียวพบเชื้อเกือบ 100 ราย” หืม… ชัวร์เหรอ ? 📌 บทสรุป : ❌เก่า ไม่จริง ไม่ควรแชร์ต่อ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบพบว่า ข้อความนี้เป็นข้อความเก่าที่เคยแชร์กันมาก่อน โดยมีข้อมูลที่ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ได้รับข้อความนี้ครั้งแรกเมื่อ 7 เมษายน 2564 อย่างไรก็ตาม โรคโควิด-19 ยังคงเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังและความรุนแรงหากผู้ติดเชื้อมีสุขภาพไม่ดีหรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยง ทั้งนี้ วิธีการป้องกันและลดความเสี่ยงยังคงไม่แตกต่างจากเดิม เช่น การสวมหน้ากาก เว้นระยะห่าง ล้างมือ อยู่เสมอ 29 พฤศจิกายน 2566ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์สำนักข่าวไทย อสมทตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์ ข้อความที่แชร์กัน เรียนพี่ๆ น้องๆคะ เมื่อเช้านี้ อาจารย์รุ่นน้องที่เป็นเจ้าของบริษัทตรวจ lab covid แห่งหนึ่ง เตือนมาแต่เช้าค่ะ ว่าระบาดรอบนี้ใหญ่มากเมื่อวานคืนเดียว แลบ แค่ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FactINFOcus : หอมแดง ขจัดรังแค แก้คันหนังศีรษะ จริงหรือ ?

ตามที่มีการแชร์ข้อความแนะนำ วิธีกำจัดรังแคแก้คันหนังศีรษะ ด้วยการใช้หอมแดง ตำผสมน้ำเปล่าชโลมทั่วศีรษะ อาการคันและรังแคหายขาดนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ แพทย์แผนไทยคมสัน ทินกร ณ อยุธยา รองคณบดี วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ คลินิกการแพทย์แผนไทยหม่อมราชวงศ์สอาด ทินกร ระบุว่า “การนำหอมแดงมาชโลมศีรษะไม่สามารถรักษารังแคได้ หากต้องการแก้เรื่องรังแคจริง ๆ แนะนำให้ใช้น้ำมะกรูดมาสระผม จึงจะเห็นผล”

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : ขับรถลงเขา ทำให้เบรกไหม้ จริงหรือ ?

28 พฤศจิกายน 2566 – ตามที่มีการแชร์คำเตือนสำหรับผู้ใช้งานรถยนต์ว่า การขับรถลงเขา จะทำให้เบรกของรถยนต์เกิดการไหม้ได้นั้น บทสรุป : จริง แชร์ได้ ✅ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 21 พฤศจิกายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ตามองไม่เห็นกะทันหันในเด็ก

27 พฤศจิกายน 2566 – ตามองไม่เห็นกะทันหันในเด็กเกิดจากสาเหตุใด รุนแรงแค่ไหน และมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 24 ตุลาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์ 

ชัวร์ก่อนแชร์: “เจเอฟเค” เตรียมแฉแผนลับ ก่อนถูกลอบสังหาร จริงหรือ?

ไม่มีหลักฐานว่าเจเอฟเคเคยพูดหรือเขียนข้อความสื่อถึงความตั้งใจที่จะเปิดโปงแผนลับการถูกลอบสังหาร

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberAlert!🚨 :  Thai Daily ลวงอ่านข่าว ตุ๋นเงินกว่า 4 ล้าน !

28 พฤศจิกายน 2566 หน้าบ้าน คือ แอปพลิเคชันอ่านข่าว หลังบ้าน คือ ขบวนการตุ๋นเงิน ! “Thai Daily” แอปพลิเคชันที่อ้างว่าสามารถหารายได้พิเศษจากการอ่านข่าว เพียงทำภารกิจในแอปพลิเคชันให้สำเร็จ ผู้ใช้จะได้รับเหรียญและสามารถแลกเป็นเงินได้ ซึ่งแอปพลิเคชันดังกล่าวเปิดให้ดาวน์โหลดทั้งทาง Play Store และ App Store โดยกลโกงของแอปพลิเคชันนี้ คือ ฉากหน้าเป็นแอปพลิเคชันสำหรับอ่านข่าวทั่วไป แต่กลับฉาบไว้ด้วยกลโกงชวนลงทุนทำภารกิจออนไลน์ อ้างได้ผลตอบแทนดี ใช้เวลาไม่นาน แต่ท้ายที่สุดหลอกเงินผู้เสียหายหลายรายสูงถึง 4 ล้านบาท ตีแผ่กลโกง แผนการขั้นที่ 1 : ยิงโฆษณาให้ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน Thai Daily มิจฉาชีพเริ่มจากการจ่ายเงินซื้อโฆษณาตามสื่อโซเชียลจนมีผู้ติดตามหลักแสน โดยจะขึ้นเป็นพอปอัป (Pop-Up) กับวิดีโอที่ดูผ่าน Youtube เพจและกลุ่มประกาศหางานออนไลน์ใน Facebook สุ่มส่ง SMS รวมถึง ลิงก์ทางไลน์ โดยเชิญชวนให้ทำงานด้วยการอ่านข่าวออนไลน์ อ้างงานง่ายให้ผลตอบแทนดี แผนการขั้นที่ 2 : ลวงเข้ากลุ่มไลน์ Open […]

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberAlert!🚨 : ตำรวจเตือน ! ระวังลิงก์ปลอม ลอยกระทงออนไลน์

27 พฤศจิกายน 2566 🚨 3 คำเตือนจากตำรวจไซเบอร์ ลอยกระทงออนไลน์ต้องใช้ความระมัดระวัง ! 1. หลีกเลี่ยงการกดลิงก์ให้ลอยกระทงออนไลน์จาก SMS หรืออีเมล โดยไม่รู้แหล่งที่มาที่ไป เนื่องจากอาจจะเป็นคนร้ายหลอก phishing ข้อมูลในอุปกรณ์ของเรา 2. หลีกเลี่ยงเว็บไซต์ลอยกระทงออนไลน์ ที่ต้องให้เรากรอกข้อมูลส่วนบุคคล รหัส OTP หรือ สแกนใบหน้า 3. เลือกลอยกระทงกับเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือเท่านั้น หากใครอยากลอยกระทงออนไลน์ แต่ไม่รู้จะลอยเว็บไซต์ไหนดี ทีมข่าวไซเบอร์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ได้รวบรวม 6 พิกัดเว็บไซต์ลอยกระทงออนไลน์แบบปลอดภัยมาฝากทุกคนกันค่ะ 1. กรุงเทพมหานคร ครั้งแรกกับการลอยกระทงออนไลน์ในคลองโอ่งอ่าง ! ใครสนใจสามารถลงทะเบียนเพียงไม่กี่ขั้นตอน รับรองว่ากระทงดิจิทัลทุกใบจะลอยอยู่บนผิวน้ำคลองโอ่งอ่างแน่นอน ลงทะเบียน > https://loykratong-ongang.web.app 2. กระทรวงวัฒนธรรม ส่งการ์ดอวยพรวันลอยกระทงไปกับกระทรวงวัฒนธรรม โดยเราสามารถเลือกการ์ดและเขียนคำอวยพรได้ตามสไตล์ของตัวเอง พร้อมส่งให้คนที่เรารักได้เลยทันที หรือจะดาวน์โหลดเก็บไว้ก็ได้เหมือนกันนะ สร้างการ์ดอวยพร > https://ecard.m-culture.go.th 3. Map Longdo  หากเบื่อการลอยกระทงออนไลน์แบบเดิม ๆ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : MALINFORMATION ? — ข้อมูลที่แฝงเจตนาร้าย

25 พฤศจิกายน 2566 สิ่งนี้… คือข้อมูลข่าวสารที่แฝงเจตนาร้าย มุ่งสร้างทำร้าย หรือโจมตีอีกฝ่ายหนึ่ง และสิ่งนี้…เป็นหนึ่งในรูปแบบของปัญหาข่าวปลอม ที่เพิ่มขึ้นในประเทศไทย พบมีการแชร์มากถึง 23 ล้านคน คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 8 กันยายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริง : โดย จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ : 10 ประโยชน์จากหัวไชเท้า จริงหรือ ?

26 พฤศจิกายน 2566 – ตามที่มีการแชร์ 10 ประโยชน์จากหัวไชเท้า ตั้งแต่ชะล้างสารพิษ ลดน้ำหนัก แก้ท้องอืด บรรเทาอาการอักเสบ ขับปัสสาวะ แก้หวัด เสริมภูมิคุ้มกัน บำรุงปอด บำรุงผิว และรักษาฝ้านั้น บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.สุดาทิพย์ แซ่ตั้น ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สรุปว่า ส่วนมากเป็นข้อมูลที่ไม่มีหลักฐานยืนยันชัดเจน จึงไม่ควรแชร์ต่อ : แชร์ว่า 10 ประโยชน์จากหัวไชเท้า มีดังนี้ 1. หัวไชเท้าช่วยชะล้างสารพิษ เพราะมีไฟเบอร์สูง จริงหรือ ? ✅ หัวไชเท้ามีไฟเบอร์สูงจริง ช่วยเรื่องขับถ่าย และกระบวนการขับถ่ายคือการขับสารพิษออกจากร่างกายด้วย 2.หัวไชเท้าช่วยลดน้ำหนัก เพราะพลังงานต่ำไฟเบอร์สูง จริงหรือ ? ⚠️ มีส่วนจริง คือ หัวไชเท้าเป็นผักที่มีน้ำเป็นส่วนประกอบ มีไฟเบอร์ ช่วยทำให้อิ่มได้ […]

ชัวร์ก่อนแชร์: นสพ.ตีข่าว “เจเอฟเค” รอดตายจากการลอบสังหาร จริงหรือ?

27 พฤศจิกายน 2566แปลและเรียบเรียงบทความโดย: อดิศร สุขสมอรรถตรวจทานและพิสูจน์อักษร : คมส์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล ข้อมูลที่ถูกแชร์ : มีข้อมูลสร้างความเข้าใจผิดเผยแพร่ทางสื่อสังคมออนไลน์ในสหรัฐอเมริกา เมื่อมีการแชร์ข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์เก่าที่รายงานว่า จอห์น เอฟ. เคนเนดี อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาที่โด่งดังไปทั่วโลกจากเหตุลอบสังหารเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 1963 แท้จริงแล้วกลับรอดชีวิตจากการเหตุการณ์ครั้งนั้นมาได้ บทสรุป : เป็นข่าวพาดหัวจากจินตนาการของ สตีเฟน คิง นักเขียนนิยายสยองขวัญ ที่ปรากฏบนหลังนิยายเรื่อง 11/22/63 ที่ตีพิมพ์ในปี 2011 FACT CHECK : ตรวจสอบข้อเท็จจริง : อย่างไรก็ดี จากการตรวจสอบโดย Reuters Fact Check ยืนยันว่า ข้อความไม่ตรงกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และไม่ใช่การรายงานข่าวจากหนังสือพิมพ์เช่นกัน ข้อความพาดหัวข่าวที่ถูกแชร์ นำมาจากปกหลังของนิยายปี 2011 เรื่อง 11/22/63 นิยายลำดับที่ 49 ของ สตีเฟน คิง นักเขียนนิยายสยองขวัญชื่อดังชาวอเมริกัน เนื้อหาของ 11/22/63 […]

1 62 63 64 65 66 277
...