ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด 19 ไม่เคยทดลองกับคนที่มีโรคประจำตัว จริงหรือ?
วัคซีนโควิด 19 ที่รับรองให้ใช้ในสหรัฐฯ ผ่านการทดสอบกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพมาแล้วทั้งสิ้น
วัคซีนโควิด 19 ที่รับรองให้ใช้ในสหรัฐฯ ผ่านการทดสอบกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพมาแล้วทั้งสิ้น
WHO ระบุว่าผู้ที่ไม่ควรฉีดวัคซีน Sinovac ได้แก่ผู้แพ้สารประกอบในวัคซีน, ผู้ป่วยโควิด 19 และผู้มีอุณหภูมิสูงกว่า 38.5°C
เดนมาร์กยังคงฉีดวัคซีนโควิด 19 ให้กับประชนต่อไป แม้จะยกเลิกมาตรการโควิด 19 ไปตั้งแต่วันที่ 10 กันยายนที่ผ่านมา
ในเดือนตุลาคม รัฐบาลตาลีบันออกมาสนับสนุนโครงการของสหประชาชาติ (UN) เพื่อเร่งการฉีดฉีดวัคซีนโควิด 19 และโปลิโอให้กับประชาชนในประเทศ
แม้นักภูมิคุ้มกันวิทยาเชื่อว่าโควิด 19 อาจกลายเป็นโรคประจำถิ่น แต่ปัจจุบัน WHO ยังไม่ประกาศให้โควิด 19 เป็นโรคประจำถิ่นแต่อย่างใด
WHO ให้ความสำคัญกับการสร้าง “ภูมิคุ้มกันหมู่” ผ่านการฉีดวัคซีน แต่ไม่ได้ปฏิเสธว่าการติดเชื้อสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้
CDC อนุมัติการใช้ยา Ivermectin แก่ผู้อพยพในสหรัฐฯ เพื่อป้องกันและรักษาโรคที่เกิดจากพยาธิเส้นด้าย ไม่ใช่การใช้เพื่อป้องกันหรือรักษาผู้ป่วยโควิด 19 แต่อย่างใด
มีการเรียกเก็บวัคซีน Moderna ล็อตที่มีปัญหา แต่รัฐบาลญี่ปุ่นยังคงรับรองการใช้วัคซีน Moderna ต่อไป
WHO ยืนยันว่า Ivermectin ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 ได้
WHO, EMA, FDA ยืนยันว่า Ivermectin ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 ได้
ยังไม่มีการวิจัยที่พิสูจน์ได้ว่ายาบรรเทาอาการข้างเคียงจากวัคซีนโควิด 19 สามารถใช้ได้ผล
1.กิจวัตรประจำวันไม่ส่งผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน
2.สามารถใช้ยาลดไข้หลังฉีดวัคซีนได้
3.วิตามินซีชนิดเม็ดหรือผักผลไม้มีประโยชน์ไม่ต่างกัน
4.งดแป้งและน้ำตาลไม่ช่วยป้องกันโควิด 19
5.อาบน้ำอุ่นไม่ช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันในร่างกาย