สมาคม รพ.เอกชน ถามภาครัฐ “เปิดจัดหาได้เองหรือไม่”
กรุงเทพฯ 9 มิ.ย.- สมาคม รพ.เอกชน ถามภาครัฐ “เปิดจัดหาได้เองหรือไม่”หลัง ราชกิจจานุเบกษา ปลดล็อก มั่นใจจัดหาวัคซีนรวดเร็วขึ้น
กรุงเทพฯ 9 มิ.ย.- สมาคม รพ.เอกชน ถามภาครัฐ “เปิดจัดหาได้เองหรือไม่”หลัง ราชกิจจานุเบกษา ปลดล็อก มั่นใจจัดหาวัคซีนรวดเร็วขึ้น
กรุงเทพฯ 9 มิ.ย.-นายกสมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA) รัฐเปิดทางนำเข้าวัคซีน เพิ่มความเชื่อมั่นต่อการท่องเที่ยวไทยให้มากขึ้น
กรุงเทพฯ 9 มิ.ย.-กรมบัญชีกลางอนุมัติผ่อนผัน การไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) เพื่อเร่งรัดการเบิกจ่ายให้เร็วขึ้น กระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ
นนทบุรี 9 มิ.ย.-อธิบดีกรมการค้าภายในออกหนังสืออนุญาตขนย้ายสินค้าเกษตรทางอิเล็กทรอนิกส์มุ่งอำนวยความสะดวกให้ประชาชน ย้ำหากพบมีการขนย้ายโดยไม่ได้รับอนุญาตจะดำเนินคดีตามกฎหมาย
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) กระทรวงคมนาคม จัดโครงการ “EXAT Charity ทุกการเดินทาง เพื่อการแบ่งปัน” เพื่อสนับสนุนการช่วยเหลือทางการแพทย์ ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
9 มิถุนายน 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Myth Detector (จอร์เจีย)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: วัคซีนโควิด 19 ผ่านการทดสอบกับสัตว์ทดลอง วัคซีนโควิด 19 ของ Pfizer ปลอดภัยต่อผู้ที่มีโรคประจำตัว บริษัท Pfizer-BioNTech ไม่มีข้อห้ามการมีเพศสัมพันธ์หลังจากรับวัคซีน บริษัท Pfizer-BioNTech ไม่มีข้อห้ามเรื่องการเปิดเผยอาการข้างเคียงจากวัคซีน ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีข้อมูลเท็จเกี่ยวกับโควิด 19 หลายประเด็น ถูกเผยแพร่ผ่านรายการโทรทัซน์ Ghamis Studia ของสถานี Obiektivi TV ในประเทศจอร์เจียเมื่อวันที่ 4 มีนาคมที่ผ่านมา FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: Myth Detector เว็บไซต์ตรวจสอบความจริงของประเทศจอร์เจียได้ทำการหักล้างข้อมูลเท็จต่างๆ ดังนี้ 1.วัคซีนโควิด 19 ผลิตออกมาอย่างเร่งรีบ จนข้ามขัดตอนการทดลอง และไม่เคยทดสอบในสัตว์ทดลอง – ข้อมูลเท็จ เนื่องจากวิกฤตการระบาดของโควิด […]
8 มิถุนายน 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: BOOM (อินเดีย)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: การฉีดวัคซีนเกือบทุกชนิด ควรจะฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้นแขนหรือกล้ามเนื้อหน้าขาด้านนอก ซึ่งช่วยให้วัคซีนไหลเวียนได้ดีที่สุด ส่วนอวัยวะเพศชายที่ประกอบไปด้วยเนื้อเยื้อและเส้นเลือด ไม่ใช่บริเวณที่เหมาะสมต่อการฉีดวัคซีน ข้อมูลที่ถูกแชร์: เป็นรูปภาพและข้อความเท็จที่เผยแพร่ผ่านทาง Twitter ในประเทศอินเดีย โดยอ้างว่าแพทย์จากมหาวิทยาลัย University of California ค้นพบว่าการฉีดวัคซีนโควิด 19 ที่บริเวณอวัยวะเพศชาย จะทำให้ตัวยาไหลเวียนได้ดีที่สุด ซึ่งการอ้างว่าเป็นรายงานจากสถานีข่าว CNN ทำให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ทไม่น้อยหลงเชื่อแล้วนำข้อมูลไปแชร์ต่อ FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: จากการตรวจสอบของ BOOM พบว่ารูปภาพและข้อมูลดังกล่าวเป็นการตัดต่อโลโก้ของ CNN และนำชื่อมหาวิทยาลัย University of California การผลิตซ้ำเพื่อการล้อเลียน ส่วนนายแพทย์ผู้ถูกนำรูปภาพมาแอบอ้าง เป็นแพทย์ที่ทำงานให้กับโรงพยาบาล Claremont Medical Center ในเมืองแคลร์มอนต์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ซึ่งเจ้าตัวยืนยันว่าไม่เคยเสนอแนะวิธีการฉีดยาดังกล่าว ข้อมูลจากหน่วยงานด้านสาธารณสุขระบุว่า การฉีดวัคซีนเกือบทุกชนิดควรจะฉีดเข้ากล้ามเนื้อ […]
ทำเนียบฯ 8 มิ.ย.-ครม. ไฟเขียวกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการเฉพาะกิจ 10,000 อัตรา วงเงิน 2,254.32 ล้านบาท บรรเทาการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่ในระยะสั้น
ตลาดขายปลาสึกิจิ ซึ่งเคยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงในกรุงโตเกียวถูกใช้เป็นศูนย์ฉีดวัคซีนต้านโควิด-19 ให้กับเจ้าหน้าที่หน่วยฉุกเฉินและประชาชนทั่วไปก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในเดือนหน้า
กรุงเทพฯ 8 มิ.ย.-“กรุงไทย” แจ้งยกเลิกระบบให้ความยินยอมเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลบนแอปฯเป๋าตัง เพื่อป้องกันความสับสน และลดความกังวลของผู้ใช้งาน ส่วนผู้ใช้งานที่ให้ความยินยอมไปแล้ว ระบบจะยกเลิกให้ “อัตโนมัติ” ตั้งแต่คืนวันที่ 7 มิถุนายนที่ผ่านมา พร้อมเร่งพัฒนาระบบและรูปแบบให้ความยินยอมเปิดเผยข้อมูล เฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเข้าร่วมโครงการภาครัฐต่อไป
ข่าวราดแกง “กำภู-รัชนีย์” ep58 เพื่อนมีมั้ย ?(8 มิถุนายน 2564)
กรุงเทพฯ 8 มิ.ย.-แอสตร้าเซนเนก้าจึงขอนำเสนอ 5 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของแอสตร้าเซนเนก้า เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่ประชาชนก่อนเข้ารับการฉีดวัคซีน