ชัวร์ก่อนแชร์: หลักฐานการพบ UFO/UAP ในหลายประเทศ จริงหรือ?
เป็นการผลิตสื่อโฆษณาที่ทำให้ผู้คนเข้าใจผิดว่าคือหลักฐานการพบ UFO/UAP ของจริง
เป็นการผลิตสื่อโฆษณาที่ทำให้ผู้คนเข้าใจผิดว่าคือหลักฐานการพบ UFO/UAP ของจริง
เป็นความเชื่อเรื่อง UFO/UAP ที่เกิดจากความเข้าใจผิดของผู้พบเห็น หรือจากความจงใจของผู้โพสต์ที่ต้องการบิดเบือนข้อมูล
หญิงชราในหนัง Barbie รับบทโดย แอนน์ รอธ นักออกแบบเครื่องแต่งกายรางวัลออสการ์วัย 91 ปี
คลิปดังกล่าวเกิดจากการใช้เทคนิค CGI สร้างภาพบาร์บี้ขนาดยักษ์
เอช. จี. เวลส์ กล่าวถึงการผลิตระเบิดจากธาตุยูเรเนียมในนิยาย แต่ไม่ใช่ผู้คิดค้นระเบิดนิวเคลียร์
เกิดเสียงวิจารณ์ต่อภาพยนตร์ Oppenheimer เรื่องการละเลยผลกระทบต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ใกล้สถานที่ทดสอบการจุดระเบิดนิวเคลียร์ ทั้งกลุ่มคนที่ถูกบังคับได้ย้ายถิ่นฐาน และผู้ล้มป่วยจากการสัมผัสกัมมันตรังสี
ทีมงานของหนัง Oppenheimer ร่วมกันทำฉากระเบิดนิวเคลียร์ด้วยการทดลองการจุดการระเบิดด้วยเชื้อเพลิงหลากหลายชนิด และถ่ายทำด้วยเทคนิค Forced Perspective ซึ่งเป็นการใช้มุมกล้องทำให้วัตถุในภาพมีขนาดเล็กหรือใหญ่กว่าความเป็นจริง
โลกออนไลน์เต็มไปด้วยหัวข้อ Barbenheimer การโพรโมตแบบปากต่อปากจากกลุ่มแฟนหนัง ที่ต่อให้บริษัทผู้ผลิตทุ่มงบโฆษณามากเพียงใด ก็ไม่สามารถจุดกระแสได้ถึงเพียงนี้
19 สิงหาคม 2566แปลและเรียบเรียงบทความโดย: อดิศร สุขสมอรรถตรวจทานและพิสูจน์อักษร : คมส์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล ไม่กี่เดือนหลังจาก The Last Train from Hiroshima หนังสือย้อนรอยชีวิตเหยื่อระเบิดนิวเคลียร์ในเมืองฮิโรชิมะและนางาซากิวางจำหน่ายในเดือนมกราคม 2010 ผลงานของนักเขียน ชาร์ลส์ เปเยกริโน ก็ถูกถอดออกจากร้านหนังสือทั่วสหรัฐอเมริกา ในข้อหาบิดเบือนประวัติศาสตร์ The Last Train from Hiroshima เล่าถึงชีวิตของผู้คนในเมืองฮิโรชิมะและนางาซากิ หลังบ้านเมืองถูกทำลายจากการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์เมื่อในวันที่ 6 และ 9 สิงหาคมปี 1945 หนังสือเน้นไปที่เรื่องราวน่าเหลือเชื่อของ ทสึโตมุ ยามากุจิ เหยื่อจากระเบิดนิวเคลียร์เพียงรายเดียวที่รัฐบาลญี่ปุ่นให้การรับรองอย่างเป็นทางการ ในฐานะผู้รอดชีวิตจากการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ทั้งในเมืองฮิโรชิมะและนางาซากิ ผู้รอดชีวิตจากระเบิดนิวเคลียร์ 2 ครั้ง ทสึโตมุ ยามากุจิ เป็นชาวเมืองนางาซากิ ทำงานเป็นพนักงานของบริษัท Mitsubishi Heavy Industries ในเมืองนางาซากิ ช่วงฤดูร้อนของปี 1945 เขาได้รับมอบหมายให้เดินทางมาทำงานยังเมืองฮิโรชิมะเป็นเวลา 3 เดือน และเตรียมจะเดินทางกลับในวันที่ […]
เงามนุษย์จากระเบิดนิวเคลียร์ ไม่ใช่ซากของเหยื่อจากระเบิด เหตุผลที่พื้นคอนกรีตมีสีเข้ม เพราะไม่ได้สัมผัสรังสีจากนิวเคลียร์โดยตรง ต่างจากบริเวณโดยรอบที่สีซีดจางลงเพราะสัมผัสรังสีโดยตรง
ไม่มีหลักฐานว่าช่างภาพที่ถ่ายภาพเด็กชายเมืองนางาซากิได้สนทนากับเด็กชาย และมีหลักฐานว่าประโยค He’s not heavy; He’s my brother ถูกใช้มาตั้งแต่ปลายศวรรษที่ 19
ภาพเด็กหญิงตาบอด ถ่ายขึ้นที่เมืองฮิโรชิมะในปี 1963 หรือ 18 ปีหลังการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่เมืองฮิโรชิมะ