“ตรีนุช”แจงข้อข้องใจกลุ่ม “นักเรียนเลว”
รมว.ศึกษาฯ ไขข้อข้องใจ “กลุ่มนักเรียนเลว” รับเรียนออนไลน์ไม่ดีเท่าเรียนที่โรงเรียน แต่เป็นระบบหนึ่งที่ใช้ในการขับเคลื่อนการศึกษาภายใต้สถานการณ์โควิด-19
รมว.ศึกษาฯ ไขข้อข้องใจ “กลุ่มนักเรียนเลว” รับเรียนออนไลน์ไม่ดีเท่าเรียนที่โรงเรียน แต่เป็นระบบหนึ่งที่ใช้ในการขับเคลื่อนการศึกษาภายใต้สถานการณ์โควิด-19
นักเรียนเวียดนามราว 23 ล้านคนทั่วประเทศเปิดภาคการศึกษาใหม่ในวันนี้ ส่วนใหญ่เป็นการเรียนออนไลน์ เพราะทางการยังใช้มาตรการล็อกดาวน์ควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19
กรุงเทพฯ 6 ก.ย.-กลุ่มนักเรียนเลว นัดหยุดเรียนออนไลน์ เริ่มวันนี้วันแรก (6 ก.ย.) ถึง 10 ก.ย.เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลและกระทรวงศึกษาฯ แก้ไขปัญหาดังกล่าว ทวิตเตอร์ “กลุ่มนักเรียนเลว” ทวิตข้อความพร้อมภาพประกอบ “เริ่มแล้ว! สไตรค์หยุดเรียนออนไลน์วันแรก ถึงเวลาแสดงความไม่พอใจต่อการเรียนออนไลน์ที่กดทับพวกเราทุกคนแล้ว จงลุกขึ้นมาร่วมกัน ขณะที่ข้อความก่อนหน้านี้ “จงตะโกนให้เสียงของเราสะเทือนหอคอยงาช้าง ให้รัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการลงมาแก้ปัญหาของพวกเราเสียที!” .-สำนักข่าวไทย
โซเชียลแห่แชร์คลิปเรียนออนไลน์ ครูต้องสอนหลายรอบเลยไม่อยากเขียนตัวอักษรทับบนหนังสือ เมื่อเด็กซักถามครูกลับพูดกระทบกระเทียบเปรียบเปรย ด้านผู้ปกครองเรียกร้องให้ครูปรับการสอนใหม่
สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ทำให้เกิดผลกระทบในวงกว้าง รวมถึงเด็กนักเรียนได้รับผลกระทบต่อวิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงไปมากจากภาวะปกติ หลังผลวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดล สำรวจพบเรียนออนไลน์ส่งผลเด็กเกิดภาวะเครียด การบ้านเยอะ
ผลวิจัยชี้นักเรียนเครียดเรียนออนไลน์ ศธ. สั่งแก้ปัญหาลดเวลาเรียนหน้าจอ-ลดการบ้าน-ลดการสอบ
เด็กบนดอยสูง อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง ต้องเดินพากันเดินขึ้นไปบนสันเขาสูง ตามหาสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพื่อเรียนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์โควิดระบาด
สสส. จับมือ สพฐ. และ TPAK หาแนวทางส่งเสริมสุขภาพเด็กช่วงเรียนออนไลน์ ชี้ในวิกฤติโควิดเด็กขยับร่างกายเพียงพอลดลงเหลือแค่ 17% ผลสำรวจย้ำชัด เด็กปวดตา เครียด การบ้านท่วม นอนน้อย ขาดกิจกรรมทางกาย หมอเด็กห่วงกินอาหารตามใจ ทำให้เด็กอ้วน แนะครอบครัวสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ชวนเด็กทำงานบ้าน-เล่นกีฬา ช่วยพัฒนาร่างกายและสมอง
เด็กเรียนเก่งเกรด 3.9 ไม่เข้าเรียนออนไลน์ คุณครูตามไปดูที่บ้านถึงกับตกใจ เพราะครอบครัวฐานะยากไร้ ไม่มีไฟฟ้าใช้
แม้บ้านจะถูกไฟไหม้วอดเสียหายไม่เหลืออะไร จนต้องมาอาศัยอยู่กับญาติ แต่ 2 พี่น้องนักเรียนโรงเรียนศรัทธาสมุทร ก็ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค นำโทรศัพท์มือถือจอเล็กๆ มานั่งเรียนออนไลน์ในศาลาใต้พุ่มไม้
กรมการแพทย์ โดยสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี แนะผู้ปกครองควรดูแลสายตาลูกน้อย ระหว่างการเรียนออนไลน์โดยกำหนดระยะเวลาเรียนเวลาพักให้เหมาะสมและดูแลปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะกับการเรียนมีระยะห่างระหว่างตากับหน้าจอ เพื่อป้องกันผลเสียที่จะเกิดกับสายตาลูก
เป็นเวลากว่า 1 ปี ที่โรงเรียนต้องปรับการเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์ ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ซึ่งเป็นภาพที่เราคุ้นตากัน แต่ยังมีรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนแฮนด์ เป็นอย่างไรนั้น ติดตามจากรายงาน