ชัวร์ก่อนแชร์: ชาวพุทธควรฉีดวัคซีน mRNA เพราะไม่มีส่วนผสมของเนื้อสัตว์ จริงหรือ?
ส่วนประกอบพื้นฐานที่อยู่ในวัคซีนโควิด 19 ทุกชนิด สามารถพบได้ทั้งในพืชและสัตว์ จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะแยกหมวดหมู่ว่าวัคซีนชนิดไหนเป็นวัคซีนมังสวิรัติหรือวัคซีนเนื้อสัตว์
ส่วนประกอบพื้นฐานที่อยู่ในวัคซีนโควิด 19 ทุกชนิด สามารถพบได้ทั้งในพืชและสัตว์ จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะแยกหมวดหมู่ว่าวัคซีนชนิดไหนเป็นวัคซีนมังสวิรัติหรือวัคซีนเนื้อสัตว์
เป็นการอ้างอิงงานวิจัยความสัมพันธ์ของไวรัส HIV-1 กับไวรัสโควิด 19 ไม่เกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19
การสอบสวนพบว่าวัคซีนโควิด 19 ไม่ใช่สาเหตุของการเกิดโรค GBS แต่อย่างใด
สหรัฐฯ มีอัตราการเกิดกรณี Breakthrough Case หรือการติดเชื้อโควิด 19 หลังรับวัคซีนโควิด 19 ครบ 2 โดสอยู่ที่ 0.01% ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่ป้องกันการติดเชื้อโควิด 19 ได้ 100%
การวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมและแผนภูมิวิวัฒนาการไวรัส ไม่พบหลักฐานว่าไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาแต่อย่างใด
ไม่มีข้อห้ามการใช้ยาชา-ยาสลบกับผู้ฉีดวัคซีนโควิด 19
ไวรัสโควิด 19 และไวรัสไข้หวัดใหญ่ เป็นไวรัสต่างสายพันธุ์กัน จึงใช้ชุดตรวจ COVID-19 PCR ตรวจหาเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ไม่ได้
ผู้เสียชีวิตหลังฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มจำนวนไม่น้อยที่ติดเชื้อหลังฉีดเข็มที่ 2 ไม่ถึง 15 วัน และส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุหรือมีโรคประจำตัว
ผู้เชี่ยวชาญยืนยันว่าลักษณะการติดเชื้อของไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์เดลต้า ไม่แตกต่างจากไวรัสโควิด 19 สายพันธุ์อื่นๆ และสามารถตรวจหาเชื้อด้วยวิธี PCR หรือ Swab ได้
งานวิจัยในหลายประเทศยืนยันว่าวัคซีนโควิด 19 ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์
1. ตุรกีระงับการใช้วัคซีน Sinovac เฉพาะล็อตที่ B18880035A เป็นการชั่วคราว เพราะปัญหาตัวเลขบนขวดและหีบห่อไม่ตรงกัน
2. ผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ในตุรกีพบว่าวัคซีน Sinovac มีประสิทธิผล 83.5%
1. หลายชาติในยุโรปเคยออกคำสั่งระงับการใช้วัคซีน AstraZeneca เป็นการชั่วคราว หลังพบการเกิดลิ่มเลือดอุดตันจากการใช้วัคซีน
2. แต่เมื่อ WHO และ EMA ยืนยันว่าวัคซีนมีประโยชน์มากกว่าความเสี่ยง หลายชาติในยุโรปจึงนำวัคซีน AstraZeneca กลับมาใช้อีกครั้ง