ชัวร์ก่อนแชร์ : 10 สัญญาณเตือนโรคแพนิก จริงหรือ ?

28 มกราคม 2567 – บนโซเชียลแชร์เตือน 10 สัญญาณอาการโรคแพนิกที่คุณอาจไม่รู้ เช่น เสียขวัญกะทันหัน ใจสั่น หายใจถี่ คลื่นไส้หรือปวดท้องนั้น บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.มาโนช หล่อตระกูล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี แชร์ว่า 10 สัญญาณอาการโรคแพนิก มีดังนี้   สัมภาษณ์เมื่อ : 21 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต วิธีแก้อาการปวดหลัง จริงหรือ ?

24 มกราคม 2566 – บนโซเชียลมีการแชร์วิธีแก้อาการปวดหลังเอาไว้มากมาย ทั้งดื่มน้ำมะพร้าวผสมพริกไทยช่วยให้หายปวดหลัง และยังมีท่าบริหารที่แก้ปวดหลังได้ถาวร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.นพ.ชัชวาลย์ เจริญธรรมรักษา อาจารย์ประจำภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผศ.นพ.ธงชัย ก่อสันติรัตน์ อาจารย์ประจำภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผศ.ดร.ชนิพรรณ บุตรยี่ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ผศ.สุวรรณี อาจหาญณรงค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อ.สง่า ดามาพงษ์ ที่ปรึกษา สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : มะเร็งจอประสาทตาในเด็ก

25 มกราคม 2566 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับ “โรคมะเร็งจอประสาทตา” ในเด็ก เกิดจากสาเหตุใด อันตรายแค่ไหนและจะมีวิธีการสังเกตอย่างไร ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ กับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : อาการบอกเกียร์ออโต้เสีย จริงหรือ ?

23 มกราคม 2567 – ตามที่มีการแชร์อาการที่บ่งบอกว่า เกียร์ออโต้เสีย เช่น เกียร์กระตุก และ ใส่เกียร์ D รถไม่เคลื่อนตัวนั้น บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม ⚠️ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 18 มกราคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ตาเพชร

22 ธันวาคม 2567 ตาเพชรคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด และจะเป็นอันตรายหรือไม่ ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ : ข้อดี-ข้อเสีย ของการกินเผ็ด จริงหรือ ?

19 มกราคม 2567 – ตามที่มีการแชร์บทความ “ข้อดี-ข้อเสีย ของการกินเผ็ด” เช่น ข้อดี คือ ช่วยให้เจริญอาหาร ทำให้อายุยืน ต้านแบคทีเรีย ส่วนข้อเสีย คือ ท้องเสีย แสบร้อน เป็นโรคกระเพาะ ก่อโรคกรดไหลย้อนนั้น บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์นายแพทย์อาลันณ์ จันท์จารุณี อาจารย์ประจำสาขาทางเดินอาหารและตับ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 12 มกราคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : IDOXGN ? — กลั่นแกล้งผู้เห็นต่าง โดยประจานให้ใจเจ็บ

20 มกราคม 2567 สิ่งนี้…คือการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ ที่กลายเป็นภัยคุกคามในชีวิตจริงและสิ่งนี้… เคยถูกใช้เป็นเครื่องมือหนึ่งในการปิดปากผู้เห็นต่างทางการเมือง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.เจษฎา ศาลาทอง อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำนี้คือ DOXING แปลว่า การกลั่นแกล้งและคุกคามความเป็นส่วนตัวบนโลกออนไลน์ แฮกเกอร์จะรวบรวมข้อมูลของเหยื่อและเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของข้อมูล เพื่อหวังผลให้เหยื่อหยุดกระทำการบางอย่าง หวังให้เหยื่อเกิดอาการกลัว หวาดระแวง ทำให้เหยื่อไม่กล้าขยับตัวไปทำอะไร กรณีนี้จะพบได้บ่อยจากการวิพากษ์วิจารณ์เรื่องการเมือง โดยฝั่งตรงข้ามจะขุดคุ้ยประวัติมาโพสต์ในโลกออนไลน์ เพื่อให้อีกฝั่งเสื่อมเสียชื่อเสียง​ และโดนทัวร์ลง วิธีป้องกัน แสดงข้อมูลส่วนตัวเท่าที่จำเป็น หรือก่อนแสดงความคิดเห็นบนโพสต์สาธารณะทุกครั้งและไม่เปิดเผยตัวตนหรือข้อมูลส่วนตัวมากจนเกินไป และนี่จึงเป็นเหตุผลว่า เราควรระมัดระวังการโพสต์ การแสดงความคิดเห็นในสื่อสังคมออนไลน์ เพราะสิ่งเหล่านั้นอาจกลายเป็นเครื่องมือย้อนกลับมาทำร้ายเรา สัมภาษณ์เมื่อ : 28 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยงเรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : รู้จักและเข้าใจมะเร็งรังไข่

21 มกราคม 2567 – มะเร็งรังไข่คืออะไร เกิดจากสาเหตุใด และจะมีอาการแสดงอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ  ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.พญ.สฤกพรรณ วิไลลักษณ์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มะเร็งรังไข่คืออะไร ? เนื้องอกชนิดร้ายที่บริเวณรังไข่ มีการเพิ่มขนาดอย่างรวดเร็วโดยปราศจากการควบคุมจากเซลล์ปกติ อีกทั้งยังสามารถลุกลามทำลายเนื้อเยื่ออวัยวะที่ปกติและสามารถกระจายไปยังอวัยวะอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงได้อีกด้วย ใครคือกลุ่มเสี่ยงบ้าง อาการที่ต้องระวัง อาการที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์บ่อยที่สุดได้แก่ อาการท้องโตอืดขึ้น เนื่องจากในท้องมีน้ำหรือมีก้อนเนื้องอกใหญ่ หรืออาการที่เกิดจากการกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ ทำให้คนไข้ปัสสาวะบ่อย น้ำหนักตัวลด ดังนั้น ผู้หญิงที่อายุ 40 ปีขึ้นไปต้องคอยสังเกตตัวเอง เข้ารับการตรวจภายในอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งจะสามารถทำให้เราลดความเสี่ยงของการเกิด “มะเร็งรังไข่” สัมภาษณ์เมื่อ : 18 ตุลาคม 2566  ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : การป้องกันและรักษาภาวะตามัว

18 มกราคม 2567 – ภาวะตามัวป้องกันได้หรือไม่ และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FactINFOcus : อาหาร 3 ชนิด ช่วยให้หลับสบาย จริงหรือ ?

ตามที่มีการแชร์ข้อความว่า  มีอาหาร 3 ชนิด กินก่อนนอนช่วยให้หลับสบาย ได้แก่ กล้วย นม และถั่วลิสงนั้น บทสรุป : จริง แชร์ได้  ✅ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นพ.ณภัทร์ ศิรินิ่มนวลกุล อาจารย์แพทย์ฝ่ายจิตเวชศาสตร์ และศูนย์นิทราเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กล้วยหอม นม และ ถั่วบางชนิดที่มีสารทริปโตเฟน ซึ่งเป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่ง ก่อนนอนอย่างน้อย 1 ชั่วโมงร่างกายจะแปลงให้เป็นสารเซโรโทนิน (Serotonin) ที่จะกระตุ้นให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลาย ช่วยให้นอนหลับสบาย

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต อาหารที่สุนัขและแมวไม่ควรกิน จริงหรือ ?

17 มกราคม 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์เกี่ยวกับอาหารต้องห้ามของสุนัขและแมว ทั้งเตือน ไม่ควรให้สุนัขกินกระดูก และห้ามแมวกินนมวันเพราะเป็นจะทำให้ท้องเสียและเป็นอันตรายได้ ?! ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.น.สพ.ดร.สถาพร จิตตปาลพงศ์ คณบดีคณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ผศ.สพ.ญ.ดร. อุตรา จามีกร ภาควิชาสัตวบาล คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : 6 ข้อครหาของรถยนต์ไฟฟ้า จริงหรือ ?

16 มกราคม 2567 – ตามที่มีการแชร์ข้อความเกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าในเรื่อง 6 ข้อครหาของรถยนต์ไฟฟ้า เช่น ค่าซ่อมแพงมหาโหด และถ้าจะอัพเดตซอฟแวร์ต้องจ่ายเพิ่มนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ แชร์ว่า รถไฟฟ้าถ้าไม่รวยอย่าซื้อ อย่าไหลตามกระแสแชร์ว่า ค่าซ่อมรถไฟฟ้า แพงกว่ารถยนต์สันดาปแชร์ว่า ราคาขายต่อตกลงอย่างมากแชร์ว่า การซ่อมรถไฟฟ้า ยากกว่ารถยนต์สันดาป เพราะต้องเปลี่ยนอะไหล่แบบยกชิ้นแชร์ว่า การอัพเดทซอฟแวร์ต้องเสียค่าใช้จ่าย และเมื่อถึงจุดหนึ่งจะอัพเดทไม่ได้แชร์ว่า เมื่อใช้รถไฟฟ้า ไปนาน ๆ ค่าซ่อมแพง ขายต่อมือสองไม่ได้ ตรวจสอบกับสัมภาษณ์เมื่อ : 18 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

1 20 21 22 23 24 201
...