ชัวร์ก่อนแชร์: กินไข่เสี่ยงลิ่มเลือดอุดตันในหัวใจ จริงหรือ?

24 ตุลาคม 2567แปลและเรียบเรียงบทความ : อดิศร สุขสมอรรถตรวจทานและพิสูจน์อักษร : คมส์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล ข้อมูลที่ถูกแชร์ : มีข้อมูลเท็จเกี่ยวกับการกินไข่ไก่เผยแพร่ทาง Facebook และเว็บไซต์ในสหรัฐอเมริกา เมื่อมีการอ้างว่าพบงานวิจัยที่พิสูจน์ได้ว่าการกินไข่ไก่คือสาเหตุทำให้ชาวอเมริกันมีอาการลิ่มเลือดอุดตันหลายพันราย บทสรุป : FACT CHECK : ตรวจสอบข้อเท็จจริง : ข้ออ้างที่เผยแพร่ทางออนไลน์ นำมาจาก NewsPunch หรือ The People’s Voice เว็บไซต์ที่มีประวัติเผยแพร่ข่าวปลอมบ่อยครั้ง โดยบทความอ้างงานวิจัยที่พบว่า โคลีน (Choline) สารที่อยู่ในไข่แดงคือตัวการทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจจากลิ่มเลือดอุดตัน Choline โคลีน (Choline) คือสารที่จำเป็นต่อร่างกาย และเป็นส่วนประกอบสำคัญของเซลล์ วงการแพทย์เคยจัดให้โคลีนเป็นหนึ่งในวิตามินบี 4 แม้ร่างกายสามารถผลิตโคลีนได้เอง แต่มีในปริมาณน้อย จึงจำเป็นต้องได้รับโคลีนที่มีอยู่ในอาหาร ได้แก่ เนื้อแดง ไข่แดง ผลิตภัณฑ์จากนม และถั่วต่าง ๆ การขาดโคลีนนำไปสู่โรคไขมันพอกตับและการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ แต่หากได้รับโคลีนมากเกินไป นำไปสู่ปัญหาความดันต่ำ ท้องเสีย และการมีกลิ่นตัวเหมือนกลิ่นปลา […]

ชัวร์ก่อนแชร์: การกินไข่กับความเสี่ยงโรคหัวใจ (2024)

22 ตุลาคม 2567แปลและเรียบเรียงบทความโดย: อดิศร สุขสมอรรถตรวจทานและพิสูจน์อักษร : คมส์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล ข้อสงสัยเรื่องการบริโภคไข่กับความเสี่ยงการป่วยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ กลายเป็นประเด็นโต้เถียงมาอย่างยาวนาน เนื่องจากมีข้อสรุปที่พบว่าการกินไข่ส่งผลเสียต่อหัวใจ กินไข่ส่งผลดีต่อหัวใจ และการกินไข่ไม่มีความสัมพันธ์ใด ๆ ต่อโรคหัวใจ อย่างไรก็ดี การวิจัยเกี่ยวกับการบริโภคไข่ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ช่วยให้ข้อมูลเกี่ยวกับไข่และสุขภาพมีความชัดเจนมากกว่าการศึกษาไข่กับผลกระทบต่อโรคหัวใจในอดีตที่ผ่านมา คอเลสเตอรอลและไขมันในไข่ แคลอรีครึ่งหนึ่งที่ได้รับจากการกินไข่ มาจากไขมันที่อยู่ในไข่แดง ไขมันในไข่แดงประมาณ 2 ใน 3 คือไขมันไม่อิ่มตัว ส่วน 1 ใน 3 คือไขมันอิ่มตัว ไข่ไก่ทั่วไปจะมีปริมาณคอเลสเตอรอลสูงประมาณ 200 มิลลิกรัม ในขณะที่ไข่แดงอุดมไปด้วยคอเลสเตอรอล แต่ไข่ขาวมีไขมันอยู่เพียง 0.2% และไม่มีคอเลสเตอรอลเลย โทษของไข่แดงกับความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ ? ปี 2021 มีบทความวิชาการตีพิมพ์ทางวารสารของสมาคมโรคหัวใจแห่งอเมริกา (American Heart Association) ในหัวข้อ Cardiovascular Harm From Egg Yolk and Meat : […]

“มหาเธร์” เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลเนื่องจากมีอาการไอ

นายมหาเธร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรีที่บริหารประเทศมาเลเซียมา 2 ทศวรรษ เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลเนื่องจากมีอาการไอ

ชัวร์ก่อนแชร์ : ยาช่วยชีวิต จริงหรือ ?

13 พฤษภาคม 2567 – บนโซเชียลแชร์คลิปแนะนำให้พก “ยาช่วยชีวิต” โดยเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอก แค่นำมาอมไว้ใต้ลิ้น จะช่วยให้รอดปลอดภัยได้ บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ยาดังกล่าว ไม่ใช่ยาสำหรับช่วยชีวิตตามที่แชร์กัน ตรวจสอบกับ รศ.นพ.สุพจน์ ศรีมหาโชตะ สาขาวิชาโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายกสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สัมภาษณ์เมื่อ 23 เมษายน 2567 แพทย์หญิงวริสา วงศ์ภาณุวิชญ์ นายแพทย์ชำนาญการ กลุ่มงานประสาทศัลยศาสตร์ สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ สัมภาษณ์เมื่อ 8 มีนาคม 2567 ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล ประธานคณะทำงานสร้างความเข้มแข็งประชาชน ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (สยส.) สัมภาษณ์เมื่อ 7 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ : ทำ IF 16/8 เสี่ยงตายจากโรคหัวใจ 91% จริงหรือ ?

5 เมษายน 2567 – จากกรณีที่มีการแชร์เตือนว่า ข่าวช็อกวงการ IF วันนี้ ผลการศึกษาพบว่า ทำ IF แบบ 16/8 เสี่ยงเสียชีวิตจากโรคหัวใจ 91% นั้น บทสรุป : ยังสรุปไม่ได้ชัดเจนว่าการทำ IF เพิ่มความเสี่ยงของโรคหัวใจ ⚠️ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ. ดร. พญ.ฉันทชา สิทธิจรูญ ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล อธิบายว่า “การศึกษาวิจัยยังมีข้อจำกัด เนื่องจากอาศัยข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับเวลาการกินอาหารของพวกเขาเท่านั้น ทีมวิจัยมีการสำรวจสุขภาพและโภชนาการแห่งชาติ 2003-2018 เปรียบเทียบกับ ฐานข้อมูลของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต 2003-2018 ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงของ 2 ฐานข้อมูล และเป็นการสำรวจจากความทรงจำ ดังนั้นการสรุปว่าทำ IF เสี่ยงเสียชีวิตจากโรคหัวใจ 91% อาจจะเป็นการสรุปที่เกินจริง ต้องศึกษาต่อเนื่องต่อไป” สัมภาษณ์เมื่อ : 1 เมษายน 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล […]

ภารกิจสำเร็จ! นำเด็ก 10 เดือน ผ่าตัดหัวใจด่วนที่ รพ.จุฬาฯ

ภารกิจสำเร็จ! นำเด็ก 10 เดือน จากหนองคายเข้ากรุงเทพฯ ผ่าตัดหัวใจด่วนที่โรงพยาบาลจุฬาฯ ผอ.โรงพยาบาลหนองคาย ขอบคุณผู้ใช้รถใช้ถนนทุกคนที่เอื้ออำนวยให้รถรีเฟอร์เดินทางได้อย่างรวดเร็ว ทำให้เด็กปลอดภัย

กรมอนามัย แนะ 4 ดี เสริม 4 ห้องหัวใจแข็งแรง

กรมอนามัย แนะประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง ด้วย 4 ดี อาหารดี ออกกำลังกายดี หวาน มัน เค็มแต่พอดี ละ ลด เลิก เหล้า บุหรี่จะดี ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

แม่ขับเก๋งพาลูกเที่ยว โรคหัวใจกำเริบ พุ่งชนรถเสียหาย 6 คัน

แม่ขับเก๋งพาลูกและเพื่อนไปเที่ยวก่อนเข้าผ่าตัด จู่ๆ โรคหัวใจกำเริบ พุ่งชนรถที่จอดอยู่เสียหาย 6 คัน

แพทย์ชี้ บุหรี่-ไขมันสูง เสี่ยงหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน

แพทย์ ระบุกรณีพิธีกรรายการโทรทัศน์หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน และกลับมาเป็นปกติได้ นับว่าโชคดีมาก เพราะถึงมือแพทย์พอดี เตือนภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน พบมากในวัยกลางคนและมีปัจจัยเสี่ยงร่วม เบาหวาน ความดัน ไขมัน สูบบุหรี่

แพทย์ห่วงเด็ก-คนแก่-ทำงานกลางแจ้ง ป่วยฮีทสโตรก 

แพทย์เผยภาวะฮีทโตรก ไม่ทำให้เสียชีวิตทันที ยกเว้นมีปัจจัยร่วม เช่น หัวใจ ห่วงเด็ก คนแก่ โรคเรื้อรัง อ้วน ดื่มสุราจัด เสี่ยงเกิดผลกระทบหากอยู่กลางแจ้งเป็นเวลานาน แนะดื่มน้ำ หลบเลี่ยงแสงแดด

เตือนภัยนักวิ่งจากภัยเงียบ

เกิดเหตุเศร้าของวงการนักวิ่งไทย หลังหนุ่มนักวิ่งเสียชีวิตระหว่างฝึกซ้อม เนื่องจากสภาพร่างกายไม่พร้อมและพักผ่อนไม่เพียงพอ ซึ่งเรามีข้อคิดและคำชี้แนะจากคุณหมอและอดีตนักวิ่งระยะไกลทีมชาติไทยมาฝากกัน

1 2 3 5
...