ชัวร์ก่อนแชร์ FactINFOcus : ไมโครเวฟ มีรังสีตกค้าง ทำให้เป็นมะเร็ง จริงหรือ ?
ตามที่มีข้อความเตือน การกินอาหารที่อุ่นด้วยไมโครเวฟอันตราย เพราะมีรังสีตกค้างและทำให้เป็นมะเร็งนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌
ตามที่มีข้อความเตือน การกินอาหารที่อุ่นด้วยไมโครเวฟอันตราย เพราะมีรังสีตกค้างและทำให้เป็นมะเร็งนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌
ตามที่มีการแชร์แนะนำให้ใช้ไข่ขาวทาแผลไฟไหม้นั้น บทสรุป : ไม่จริง ❌ ไม่ควรแชร์ต่ออาจทำให้แผลมีโอกาสติดเชื้อได้มากขึ้น ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ. นพ.พรพรหม เมืองแมนผู้ช่วยคณบดี และ รองหัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญการรักษาแผลไฟไหม้ ได้รับการยืนยันว่า ไม่แนะนำให้ใช้วิธีการใช้ไข่ขาวทาแผลไฟไหม้ ตามข้อมูลที่แชร์กัน “ดูแล้วไม่แนะนำครับ เพราะความสะอาดของไข่ขาวนั้นคาดการณ์ยาก แผลมีโอกาสติดเชื้อได้มากขึ้นครับ” ศ. นพ.พรพรหม ระบุ สำหรับข้อความดังกล่าว เมื่อสืบค้นหาต้นตอ พบว่ามีแชร์กันเป็นภาษาต่างประเทศ ตั้งแต่ช่วงปี 2554 ซึ่งเว็บไซต์ Snopes.com ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและยืนยันเช่นกันว่า ข้อความดังกล่าวไม่เป็นความจริง ไม่ควรใช้ไข่ขาวในการปฐมพยาบาลแผลไฟไหม้ เนื่องจากมีความเสี่ยงติดเชื้อ รวมถึงเชื้อซาลโมเนลลา ”In a nutshell, don’t do it, because the danger of introducing salmonella into an open wound should not be […]
10 มกราคม 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์เกี่ยวกับแว่นตาเอาไว้มากมาย บ้างก็ว่าใส่ ๆ ถอด ๆ แว่น สายตาจะยิ่งสั้น และการตัดแว่นไม่ตรงค่าสายตา เสี่ยงมีปัญหา จะทำให้ตาบอด ?! ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์
11 มกราคม 2566 – ปัญหาโรคตายอดฮิตในผู้สูงวัยมีอะไรบ้าง และจะสังเกต ป้องกันและเฝ้าระวังได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์
มีการเปิดเผยภายหลังว่า ข้อความที่ตัวแทนกองทัพอากาศสหรัฐฯ กล่าวอ้างเป็นการสื่อสารที่ผิดพลาด และยืนยันว่าไม่เคยทดลองอาวุธที่ควบคุมด้วยปัญญาประดิษฐ์มาก่อน
เป็นการนำคลิปของ อีลอน มัสก์ ไปสร้างข่าวปลอมด้วยเทคโนโลยี Deepfake
10 มกราคม 2567 – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์วิธีการตรวจเช็กเมื่อรถเกิดอาการฝาสูบโก่ง เช่น น้ำในหม้อพักน้ำมีคราบน้ำมันเครื่องปนนั้น บทสรุป : จริง แชร์ได้ ✅ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 18 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์
ยูวัล โนอาห์ ฮารารี ผู้เขียน Sapiens ตั้งสมมติฐานว่า ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ อาจทำให้วันข้างหน้ามีการเขียนคัมภีร์ทางศาสนาทั้งเล่มด้วย AI ไม่ได้มีเจตนาการสนับสนุนให้มีการชำระศาสนาและคัมภีร์ให้ถูกต้องด้วย AI แต่อย่างใด
8 มกราคม 2567 – ใบมะละกอ กินได้หรือไม่ กินอย่างไรให้ปลอดภัย แล้วใช้รักษาโรคอะไรได้บ้าง ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ภญ.ดร.ผกากรอง ขวัญข้าว หัวหน้าศูนย์หลักฐานเชิงประจักษ์ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร สัมภาษณ์เมื่อ : 5 มกราคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์
เป็นการตั้งสมมติฐานถึงความสามารถด้านการวิเคราะห์แบบให้คำแนะนำเพื่อการตัดสินใจ (Prescriptive Mode) ของ AI ไม่ใช่การเรียกร้องให้ AI ทำหน้าที่เลือกตั้งแทนมนุษย์
5 มกราคม 2567 – ปัญหาโรคตาในคนวัยทำงานมีอะไรบ้าง และเราจะป้องกันหรือรักษาได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์
บนสังคมออนไลน์แชร์คลิปเตือน ระวังเครื่องดื่มผสมวุ้นมะพร้าวเทตากแดดไว้คืนเดียว แห้งเป็นแผ่น เหมือนกระดาษหรือพลาสติก บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.ธัญญ์นลิน วิญญประสิทธิ์ อาจารย์ประจำ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล และคุณสมชาย สิขันธกบุตร ผู้อำนวยการโรงงาน บริษัท ทวีผลผลิตภัณฑ์ จำกัด 👉 วุ้นมะพร้าวมีโครงสร้างพื้นฐานเป็นเส้นใยสีขาวที่ทำมาจากเซลลูโลสที่เกิดจากการหมัก สามารถรับประทานได้ โดยตัววุ้นมีน้ำมะพร้าวเป็นส่วนประกอบหลัก หากนำไปตากแดด เข้าตู้อบหรือบี้จนแบน จะทำให้น้ำหายไปจนมีสภาพเป็นเยือแบน ๆสีขาวคล้ายกระดาษได้ ซึ่งเป็นสภาพปกติโดยธรรมชาติ