ชัวร์ก่อนแชร์: สวิตเซอร์แลนด์จำหน่ายยากำจัดวัคซีนโควิด-19 จากร่างกาย จริงหรือ?

ภาพที่ถูกแชร์คือยาบรรเทาอาการจากวัคซีน ไม่ใช่ยากำจัดวัคซีนโควิด-19 เป็นยาตามแนวคิดการแพทย์แผนโฮมีโอพาธีย์ ซึ่งยังไม่เป็นที่ยอมรับจากวงการวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน

ชัวร์ก่อนแชร์: สารสกัดจาก “ถั่วเน่า” ถอนพิษวัคซีนโควิดได้ จริงหรือ?

แพทย์ผู้อ้างสูตรถอนพิษ เป็นทีมงานของบริษัทยาที่ค้ากำไรจากการขายอาหารเสริมที่อ้างผิด ๆ ว่ากำจัดโปรตีนหนามจากร่างกายได้ ยังไม่มีการทดลองในสิ่งมีชีวิตว่าสารสกัดจากถั่วเน่า ขมิ้นชัน และ สับปะรด ช่วยกำจัดโปรตีนจากร่างกายได้

ชัวร์ก่อนแชร์: น้ำผสม CDS ล้างพิษจากวัคซีนโควิด-19 ได้ จริงหรือ?

น้ำ CDS คือน้ำผสมคลอรีนไดออกไซด์ เป็นสารฟอกขาวและใช้ปริมาณน้อยเพื่อฆ่าเชื้อในน้ำดื่ม มีการเผยแพร่ลัทธิการใช้น้ำ CDS รักษาโรคในหลายประเทศ ทั้ง ๆ ที่ไม่มีคุณสมบัติด้านการรักษาโรค

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : สาเหตุการเกิดมะเร็งเต้านม

30 พฤษภาคม 2567 มะเร็งเต้านมเกิดจากสาเหตุใด อันตรายแค่ไหน และจะมีวิธีป้องกันมะเร็งเต้านมได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ. นพ.ประกาศิต จิรัปปภา อาจารย์ประจำสาขาศัลยศาสตร์เต้านมและต่อมไร้ท่อ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ : 8 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์: Moderna ยอมรับ DNA ตกค้างในวัคซีน ก่อมะเร็ง Turbo Cancer จริงหรือ?

Moderna กังวลถึงผลกระทบของการใช้วัคซีน DNA ไม่ใช่วัคซีน mRNA ไม่มีหลักฐานว่าดีเอ็นเอตกค้างจากชีววัตถุหรือวัคซีน mRNA เป็นอันตรายต่อร่างกาย

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ซองยาที่ไม่มีชื่อยา ผิดกฎหมายหรือไม่

27 พฤษภาคม 2567 จ่ายซองยาที่ไม่มีชื่อยา ผิดกฎหมายหรือไม่ และวิธีดูฉลากบนซองยาที่ถูกต้องเป็นอย่างไร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล ประธานคณะทำงานสร้างความเข้มแข็งประชาชน ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (สยส.) สัมภาษณ์เมื่อ : 7 พฤษภาคม 2557ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีน mRNA ของ Pfizer ทำให้หนูตายด้วยมะเร็ง Turbo Cancer จริงหรือ?

หนูที่ตายจากมะเร็งได้รับวัคซีน Pfizer ปริมาณมากกว่ามนุษย์ 600 เท่า ไม่สามารถเทียบผลที่จะเกิดกับมนุษย์ได้ งานวิจัยมากมายไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างวัคซีนกับมะเร็ง หรือวัคซีนโควิด-19 กับมะเร็งต่อมน้ำเหลือง

ชัวร์ก่อนแชร์ : คลิปส่องตัวอะไรในสตรอว์เบอร์รี จริงหรือ ?

24 พฤษภาคม 2567 – บนโซเชียลแชร์คลิป นำสตรอว์เบอร์รี มาส่องกล้อง พบสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ จำนวนมาก บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม ⚠️ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.วนิดา อ่วมเจริญ รองหัวหน้าภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัมภาษณ์เมื่อ : 15 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : BRANDYCHOICER ? — ยิ่งเสิร์ชข้อมูล ยิ่งป่วยร้ายแรง

25 พฤษภาคม 2567 สิ่งนี้…เป็นความกังวลจากการวินิจฉัยโรคให้ตนเอง ผ่านข้อมูลที่ค้นหาบนโลกออนไลน์ และเคยมีงานวิจัยจากบริษัท Microsoft พบว่า กว่า 70% ของคนที่มีอาการอย่าง สิ่งนี้ มักค้นหาข้อมูลที่ร้ายแรงขึ้นในอนาคต คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 13 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ : เบียร์มีคุณประโยชน์เหมือนน้ำสมุนไพร จริงหรือ ?

26 พฤษภาคม 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์ว่าเบียร์มีคุณประโยชน์หลากหลายอย่าง จัดเป็นน้ำสมุนไพร ควรดื่มวันละ 1-2 แก้ว บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.กฤษกมล ณ จอม อาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัมภาษณ์เมื่อ : 22 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

1 30 31 32 33 34 277
...