ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต คำแนะนำการใช้งานพัดลม จริงหรือ ?

ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.ศิริชัย แดงเอม ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี  ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

Watch the Water : สารคดีวิทยาศาสตร์ปลอม “ไวรัสโควิดคือพิษงู”

09 พฤษภาคม 2567แปลและเรียบเรียงบทความโดย: อดิศร สุขสมอรรถตรวจทานและพิสูจน์อักษร : คมส์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล ก่อนหน้าที่ สตู ปีเตอร์ส นักจัดรายการผู้มีแนวคิดอนุรักษ์นิยมสุดโต่ง จะโด่งดังกับสารคดีต่อต้านวัคซีนโควิด-19 ทั้ง Died Suddenly และ Final Days ช่วงกลางปี 2022 เขาได้นำเสนอสารคดีความยาว 45 นาทีเรื่อง Watch the Water เนื้อหาเป็นการสัมภาษณ์ ไบรอัน อาร์ดิส อดีตแพทย์ด้านการบำบัดโรคด้วยการจับกระดูกสันหลัง ผู้มีประวัติสร้างข่าวปลอมเกี่ยวกับความปลอดภัยของการใช้ยาต้านไวรัส Remdesivir รักษาผู้ป่วยโควิด-19 ทฤษฎีที่ ไบรอัน อาร์ดิส ชักจูงให้ผู้ชมคล้อยตามใน Watch the Water คือการอ้างว่า การระบาดของไวรัสโควิด-19 เป็นผลจากแผนอันชั่วร้ายที่เรียกว่า Plandemic จากการร่วมมือระหว่างศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (CDC) และคริสตจักรโรมันคาทอลิก โดยอ้างว่าไวรัสโควิด-19 แท้จริงแล้วเกิดมาจากพิษของงู, ยาต้านไวรัส Remdesivir มีส่วนประกอบของพิษงู และมีแผนแพร่เชื้อโควิด-19 ผ่านทางแหล่งน้ำอีกด้วย […]

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : สาเหตุ “รถกินยาง” ยางรถยนต์สึกไม่เท่ากัน จริงหรือ ?

7 พฤษภาคม 2567 – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์สาเหตุที่ทำให้ยางของรถยนต์สึกไม่เท่ากัน หรือที่เรียกว่าอาการ “รถกินยาง” เช่น ช่วงล่างหลวม เสื่อมสภาพ และ ศูนย์ล้อของรถยนต์ไม่ตรง บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.นภดล กลิ่นทอง ผู้เชี่ยวชาญด้านยานยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สัมภาษณ์เมื่อ 30 เมษายน 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ : ห้ามนำอาหารร้อน แช่ตู้เย็นทันที จริงหรือ ?

6 พฤษภาคม 2567 – บนโซเชียลแชร์เตือนว่า ห้ามนำอาหารร้อน ๆ แช่ตู้เย็นทันที ไม่ใช่ถึงขนาดจะทำให้ตู้เย็นพัง แต่จะทำให้เกิดความเสี่ยง ที่จะอาหารเป็นพิษ และท้องเสียได้ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.ปิติยา กมลพัฒนะ อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัมภาษณ์เมื่อ 18 เมษายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ : 4 ประโยชน์ของข้าวยีสต์แดง จริงหรือ ?

5 พฤษภาคม 2567 – บนโซเชียลแชร์แนะนำ 4 ประโยชน์ของข้าวยีสต์แดง ทั้งลดไขมันในเลือด ดีต่อสุขภาพหัวใจ ลดความเสี่ยงเมตาบอลิกซินโดรม และลดการอักเสบในร่างกายได้ บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.ประมวล ทรายทอง รองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัมภาษณ์เมื่อ 18 เมษายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : EOZR-YAD PXTEOIL ? — อาวุธไซเบอร์ ที่อาศัยช่องโหว่จากความไม่รู้ !

4 พฤษภาคม 2567 สิ่งนี้…เป็นอาวุธไซเบอร์ ที่มีมูลค่าการโจมตีขั้นสูงสุด ของ Hacker และสิ่งนี้… ถูกใช้ประโยชน์จากช่องโหว่ของ Hardware หรือ Software ที่ยังไม่ถูกค้นพบ หรือเพิ่งค้นพบใหม่ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ 15 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ : สมุนไพรเพื่อผู้สูงอายุ จริงหรือ ?

3 พฤษภาคม 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์แนะนำสมุนไพรเพื่อผู้สูงอายุ มีตั้งแต่ใบบัวบกและกระเทียมช่วยลดความดัน เตยหอม และ กะเพรา ช่วยแก้เบาหวาน และ มะระ ตำลึง ช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ แพทย์แผนไทยคมสัน ทินกร ณ อยุธยา รองคณบดี วิทยาลัยแพทย์ตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ คลินิกการแพทย์แผนไทย มรว.สอาดทินกร สัมภาษณ์เมื่อ : 8 พฤศจิกายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : รู้จักและเข้าใจ มะเร็งปากมดลูก

2 พฤษภาคม 2567 – มะเร็งปากมดลูกคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการป้องกันอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.พญ.สฤกพรรณ วิไลลักษณ์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate🚀 : 2 พ.ค. 67 วันรหัสผ่านโลก ! รหัสผ่านของคุณปลอดภัยแล้วหรือยัง ?

ทุกวันนี้พาสเวิร์ดได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของเรา ตั้งแต่การล็อกอินเข้าโซเซียลมีเดีย ช็อปปิ้งออนไลน์ ดูหนังผ่านแพลตฟอร์มสตรีมมิง โอนเงินผ่านแอปพลิเคชัน รวมถึงการเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวทางดิจิทัลอีกหลายอย่าง ล้วนต้องใช้พาสเวิร์ดด้วยกันทั้งสิ้น ดังนั้นการตั้งรหัสผ่านหรือพาสเวิร์ดที่รัดกุมจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก แต่รู้หรือไม่ว่า รหัสผ่านที่คนใช้มากที่สุดในโลก และครองแชมป์ติดต่อกันหลายปี กลับเป็นตัวเลขเรียงต่อกัน อย่าง 123456 ซึ่งเป็นรหัสผ่านที่ทั้งจดจำง่ายและแฮกได้ภายในไม่ถึง 1 นาที ทำให้วันรหัสผ่านโลก ถือกำเนิดขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักให้ทุกคนเห็นถึงความสำคัญของการตั้งรหัสผ่านที่รัดกุม และวันนี้ชัวร์ก่อนแชร์ CyberUpdate จะพาทุกคนไปรู้จักกับที่มาของวันพาสเวิร์ดโลกกันค่ะ จุดเริ่มต้นของวันพาสเวิร์ดโลก  วันพาสเวิร์ดโลก (World Password Day) เกิดขึ้นครั้งแรกในปี 2556 โดยบริษัท Intel จะจัดขึ้นในวันพฤหัสบดีแรกของเดือนพฤษภาคม ในปีนี้ตรงกับวันที่ 2 พฤษภาคม 2567 เพื่อเน้นย้ำให้ทุกคนเห็นความสำคัญในการตั้งค่ารหัสผ่านที่ปลอดภัย เนื่องจากปัญหาภัยไซเบอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อมูลบัญชีรั่วไหล หรือการโดนแฮกบัญชีออนไลน์เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง  จากรายงานของบริษัท NordPass (2023) เผยให้เห็นว่า  86% ของการโจมตีทางโลกไซเบอร์ได้มาจากข้อมูลส่วนตัวที่ถูกขโมยมา โดยมีทั้ง บัญชีธนาคารออนไลน์ อีเมล และรหัสผ่าน ซึ่งเป็นสินค้าที่ขายบ่อยที่สุดบน Dark Web […]

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : 3 วิธีดับไฟไหม้แบตฯ รถยนต์ไฟฟ้า จริงหรือ ?

30 เมษายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์วิธีดับไฟเมื่อไฟไหม้แบตเตอรี่ของรถยนต์ไฟฟ้า ได้แก่ ใช้น้ำ ใช้ถังเพลิง และ ใช้โฟมดับ บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายวรวุฒิ ก่อวงศ์พานิชย์ ผู้อำนวยการฝ่ายทดสอบ และวิศวกรรม สถาบันยานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ 24 เมษายน 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สูตรบำรุงคิ้ว ผม ให้ดกและดำ จริงหรือ ?

1 พฤษภาคม 2567 -บนโซเชียลมีการแชร์เกี่ยวกับสารพัดสูตรปลูกผม ปลูกคิ้ว ให้ดกและดำ ทั้งการใช้ดอกอัญชันทาคิ้วเป็นประจำ คิ้วดำหายห่วง และปัจจุบันยังมีแชมพูช่วยปลูกผมให้หนา ดกดำขึ้นอีกด้วย  ตรวจสอบกับ นพ.นภดล นพคุณอาจารย์พิเศษ สาขาวิชาตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.นพ.รัฐพล ตวงทองภาควิชาตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล พญ.ชินมนัส ตั้งจาตุรนต์รัศมีหัวหน้ากลุ่มงานเส้นผมและเล็บ สถาบันโรคผิวหนัง ผศ.พญ.กัณห์ชลิต ถนอมกิตติภาควิชาตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล  ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ : 7 อาหารบำรุงสายตา จริงหรือ ?

29 เมษายน 2567 ตามที่มีการแชร์แนะนำ 7 อาหารบำรุงสายตา แก้อาการเมื่อยล้าจากจอมือถือ อาหารที่กินแล้วช่วยบำรุงสายตาให้คมกริบ สดใส ไม่ร่วงโรยก่อนวัยอันควร ได้แก่ ผลไม้ตระกูลเบอรี่ ผักใบเขียว ไข่ แครอท อะโวคาโด อัลมอนด์ และปลา ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พันโท นายแพทย์ ศีตธัช วงศ์กุลศิริ ประธานคณะทำงานฝ่ายวิชาการด้านส่งเสริมสุขภาพตาเพื่อสังคม ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 25 มีนาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

1 22 23 24 25 26 120
...