กรุงเทพฯ 4 ธ.ค. เปิดแพลตฟอร์มเว็บแอพการท่องเที่ยวชุมชน walk.in.th เรียนรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชนผ่าน
นายจุฤทธิ์ กังวานภูมิ ผู้รับผิดชอบโครงการย่านน่าเดินเขตสัมพันธวงศ์ กล่าวว่า เป้าหมายของใครงการคือ การอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านไชน่าทาวน์ เขตสัมพันธวงศ์ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและทุกภาคสวนในพื้นที่เพื่อฟื้นฟูวิสชีวิตวัฒนธรรม สร้างคุณค่า ส่งเสริมการค้าปรับปรุงกายภาพและพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่สร้างเสริมสุขภาพและเพื่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีมีชุมชนที่เข้มแข็งและสอดคล้องกับการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนโครงการดำเนินงานมาตั้งแต่พ.ศ. 2475 ภายใต้ชื่อโครงการย่านจีนถิ่นบางกอกที่ผ่านมามีการจัดกิจกรรมฟื้นฟูวัฒนธรรมในรูปแบบต่างๆตั้งแต่การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนเผยแพร่เนื้อหาเกี่ยวกับกระบวนการฟื้นฟูและอัตลักษณ์ความเป็นไชน่าทาวน์บนสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อโซเชียลมีเดียไปจนถึงพัฒนาพื้นที่สาธารณะและปรังปรุงภูมิทัศน์ในแนวทางของเมืองสุขภาวะและในปัจจุบันได้พัฒนาประเด็นการทำงานไปสู่ปานน่าเดินในโครงการย่านน่าเดินเขตสัมพันธวงศ์เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเดินมากขึ้นในพื้นที่เพราะการเดินคือเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการฟื้นฟูยานเนื่องจากสามารถนำพาผู้คนไปสัมผัสเรียนรู้และเกิดปฏิสัมพันธ์กันในขณะเดียวกันยังช่วยสร้างเสริมสุขภาพลดการใช้พลังงานลดมลพิษจากการสัญจร
“พื้นที่นี้เป็นศูนย์รวมแหล่งมรดกวัฒนธรรมไทย – จีน-และอีกหลากหลายเชื้อชาติเป็นย่านเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานมากว่า 200 ปีผู้อยู่อาศัยในปัจจุบันยังคงสำรงชีวิตตามประเพณีเดิมในอดีสบางอย่างแม้จะมีการปรับให้เข้ากับยุคสมัยที่เปลี่ยนไปบ้าง แต่แก่นของวันธรรมยังคงเดิมสองกระแสการท่องเที่ยวของ“ ไชน่าทาวน์ดีขึ้นมากตลอด 5 ปีที่ผ่านมาโดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่และชาวต่างชาตินอกจากผู้มาท่องเที่ยวย่านนี้ยังคลาคล่ำไปด้วยผู้คนที่มาจับจ่ายใช้สอยในช่วงเทศกาลต่างๆเนื่องจากเป็นย่านค้าปลีก – ส่งและยังโด่งดังในฐานะย่านกินดื่มตลอดทั้งกลางวันและกลางคืนอีกด้วยสามปัจจุบันการเข้าถึง“ ไชน่าทาวน์เป็นไปได้ง่ายและสะดวกสบายนอกจากนี้ท่าเรือเจ้าพระยายังมีสถานีระบบขนส่งมวลชนทางรางสายสีน้ำเงินถึง 3 สถานีบนถนนเจริญกรุงตลอดเส้นทางซึ่งสามารถเดินมายังถนนเยาวราชที่อยู่ใกล้กันเพียง 200 เมตรและในอนาคตจะมีสถานีระบบขนส่งมวลชนทาต่อขยายสีม่วงและสีแดงทำให้การเดินทางมาย่านนี้เป็นเรื่องยและใช้เวลาน้อยลงอย่างมากโดยไม่ต้องกังวลถึงรถติดและที่จอดรถและสุดท้ายการผลักดันความเป็น Create Datic ในหลายพื้นที่เก่าแก่ที่กำลังค่อยๆเบ่งบานขึ้นตั้งแต่ย่านเจริญกรุงเรื่อยมาถึงไชน่าทาวน์ที่เปิดโอกาสให้ศิลปินไปจนถึงคนรุ่นใหม่หลากหลายแวดวงสามารถเข้ามาสร้างสรรค์กิจกรรมใหม่ในพื้นที่ได้หลากหลายและร่วมสมัยไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ในการสร้างสรรค์งานศิลปะไปจนถึงการเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้”
จากการทำงานในพื้นที่กับผู้ใช้งานหลากหลายกลุ่มมาเป็นระยะเวลาหลายปีพบว่าคนส่วนมากไม่รู้จักไชน่าทาวน์ไม่ทราบว่าต้องเดินไปทิศทางไหนไม่ทราบชื่อของแต่ละสถานที่ไม่ทราบเรื่องราวที่มาที่ไปของเทศกาลสำคัญทางวัฒนธรรมและมักหลงทางเนื่องจากพื้นที่เต็มไปด้วยตรอกซอกซอยเกิดเป็นพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการเดินและเลือกที่จะโดยสารรถรรับจ้างประจำทางข้ามองค์ประกอบทางวัฒนธรรมสองข้างทางเหล่านี้ไปนำมาสู่การสูญเสียโอกาสในการเติบโตของเศรษฐกิจชุมชนและโอกาสในการรับรู้ข้อมูลเรื่องราวประวัติศาสตร์และความสำคัญของสถานที่เหล่านั้นไปอย่างน่าเสียดายส่งผลให้มรดกวัฒนธรรมของย่านมีความเสี่ยงที่จะสูญหายไปหากไม่ได้รับการให้คุณค่าและดูแลอย่างเหมาะสมจึงเป็นที่มาของโครงการย่านน่าเดินเขตสัมพันธวงศ์ที่เริ่มดำเนินงานตั้งแต่ พ.ศ. 2560 มีจุดประสงค์ในการนำเสนอความน่าสนใจของชุมชนทั้ง 16 แห่งในเขตสัมพันธวงศ์ผ่านกระบวนการทำงานอย่างมีส่วนร่วมที่ชวนคนในชุมชนขบคิดว่าจะแนะนำย่านให้เพื่อนที่มาเยี่ยมรู้จักมากขึ้นได้อย่างไรในฐานะเจ้าบ้านพื้นที่ร้านอาหารหรือกิจกรรมใดที่ห้ามพลาดเมื่อมาถึงบ้านหลังนี้เพราะคนในย่านโดยเฉพาะคนดั้งเดิมในพื้นที่เป็นเสมือนนักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นคนสำคัญผลลัพธ์ของกระบวนมีส่วนร่วมดังกล่าวคือ 10 เส้นทางน่าเดินใน“ ไชน่าทาวน์” ที่เชื่อมโยงจุดตัดการสัญจรผ่านชุมชนและที่ตั้งมรดกวัฒนธรรมสำคัญของย่านมากกว่า 48 จุดจากมุมมองของเจ้าบ้านอย่างชุมชน
โครงการได้จัดทำเว็บแอพพลิเคชั่นเดินไชน่าทาวน์ (walk.in.th) ขึ้นภายใต้แนวคิด“ สารานุกรมชุมชนเพราะข้อมูล(Data) คือสิ่งที่มีความสำคัญในยุคปัจจุบันผู้มีข้อมูลคือผู้กุมอำนาจและอำนาจควรอยู่ในมือของชุมชนเจ้าของพื้นที่โดยที่ชุมชนมีส่วนเป็นเจ้าของและสามารถบริหารจัดการข้อมูลได้ด้วยตนเองสามารถเพิ่มเติมข้อมูลใหม่ ๆ ของย่านรวมถึงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เพิ่งค้นพบในสารานุกรมออนไลน์ฉบับนี้ได้อย่างอิสระโดยเว็บแอพพลิเคชั่น“ เดินไชน่าทาวน์ (walk.in.th) สามารถนำมาต่อยอดการใช้งานได้หลายรูปแบบนอกจากช่วยจัดการข้อมูลด้านความรู้และประวัติศาสตร์ของชุมชนแล้วฟังก์ชันสำคัญคือการเป็นระบบพาเดินเที่ยวที่ใช้งานผ่านเว็บไซต์ที่สามารถเก็บข้อมูลของผู้ใช้งานไว้ได้เหมือนแอพพลิเคชั่นทำหน้าที่เป็นระบบนำทางช่วยเหลือด้านการเดินท่องเที่ยว (Town Guide) ที่รวบรวม10 เส้นทางน่าเดินในไชน่าทาวน์และแนะนำกิจกรรมหรือเทศกาลอื่น ๆ ในย่านแก่นักท่องเที่ยวผู้มาเยี่ยมเยือนเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมภายในพื้นที่และเป็นเสมือนหน้าต่างประชาสัมพันธ์ที่เชื่อมเจ้าบ้านทั้ง 16 ชุมชนและผู้มาเยี่ยมเยือนเข้าหากันโดยผู้ใช้งานสามารถมอบข้อเสนอแนะเพื่อนำไปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ต่อในอนาคตนอกจากนี้ผู้ใช้งานยังสามารถแชร์เส้นทางและความสนุกจากการท่องเที่ยว“ ไชน่าทาวน์ลงในโซเชียลมีเดียส่วนตัวได้เพื่อให้การสร้าง-สำนักข่าวไทย.