แจง ซื้อซิโนแวคเพิ่ม มีประสิทธิผลต่อสายพันธุ์เดลต้า
กทม.22 ก.ค.- เลขาฯ อนุทิน แจง ปมเตรียมซื้อวัคซีนซิโนแวคเพิ่ม ยัน ประสิทธิผลต่อสายพันธุ์เดลต้า ยังคงที่คือร้อยละ 75 ชี้วัคซีนยิ่งมาเยอะยิ่งดี
กทม.22 ก.ค.- เลขาฯ อนุทิน แจง ปมเตรียมซื้อวัคซีนซิโนแวคเพิ่ม ยัน ประสิทธิผลต่อสายพันธุ์เดลต้า ยังคงที่คือร้อยละ 75 ชี้วัคซีนยิ่งมาเยอะยิ่งดี
22 กรกฎาคม 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Taiwan FactCheck Center (ไต้หวัน)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: เป็นการนำภาพกิจกรรมฉีดวัคซีนของคลินิกสำหรับสัตว์เลี้ยงมาบิดเบือนว่าเป็นการฉีดวัคซีนโควิด 19 ให้สุนัขและแมว ปัจจุบันกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ยังไม่อนุมัติการใช้วัคซีนโควิด 19 กับสัตว์ ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีข้อมูลภาพและข้อความเท็จเผยแพร่ทางสื่อสังคมออนไลน์ในไต้หวัน โดยอ้างว่าสหรัฐอเมริกามีวัคซีนโควิด 19 เหลือใช้ จนต้องประกาศรับฉีดวัคซีนให้กับสุนัขและแมว ทั้งๆ ที่หลายประเทศทั่วโลกยังเผชิญการขาดแคลนวัคซีน FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: Taiwan FactCheck Center ได้สืบค้นที่มาของภาพที่กล่าวอ้าง พบว่าภาพต้นฉบับนำมาจากเว็บไซต์ของ The Pet Stop Clinic ผู้ให้บริการด้านสุขภาพสัตว์เลี้ยง, รับฝากดูแล, ตรวจโรค และฉีดวัคซีนให้สัตว์เลี้ยง ซึ่งภาพที่นำมากล่าวอ้างเป็นภาพที่ The Pet Stop Clinic ใช้โปรโมทกิจกรรมในรัฐฟลอริดาและจอร์เจีย ซึ่งเนื้อหาในภาพไม่มีการกล่าวถึงการฉีดวัคซีนโควิด 19 แก่สัตว์เลี้ยงแต่อย่างใด ส่วนข้อความที่ระบุเป็นอักษรจีนว่า […]
21 กรกฎาคม 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Taiwan FactCheck Center (ไต้หวัน)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จบางส่วน บทสรุป: OIE ระบุว่าสัตว์เลี้ยงที่ติดเชื้อโควิด 19 จะแสดงอาการป่วยคล้ายมนุษย์แต่อาการจะไม่รุนแรง ปัจจุบันยังไม่พบการแพร่เชื้อโควิด 19 จากสัตว์เลี้ยงสู่คน แต่มนุษย์สามารถแพร่เชื้อโควิด 19 สู่สัตว์เลี้ยงได้ ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีข้อมูลเท็จเผยแพร่ทางสื่อสังคมออนไลน์ในไต้หวัน โดยอ้างว่า โควิด 19 สามารถแพร่เชื้อจากคนสู่สัตว์และสัตว์สู่คน อย่าปล่อยให้สัตว์เลี้ยงนำเชื้อกลับมาบ้าน พร้อมชี้แจงว่าอาการของสัตว์เลี้ยงที่ติดเชื้อโควิด 19 ไม่แตกต่างจากที่เกิดกับมนุษย์ FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: ข้อมูลล่าสุดขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE) ยืนยันรายชื่อสัตว์ 10 ชนิดที่มีรายงานว่าติดเชื้อโควิด 19 ประกอบไปด้วย แมว, สุนัข, เสือภูเขา, มิงค์, เฟอร์เรทท์, เสือดาวหิมะ, เสือโคร่ง, สิงโต, กอลิลา, และนาก โดยงานวิจัยพบว่าสัตว์ตระกูลสัตว์ปีกและโคกระบือไม่มีแนวโน้มติดเชื้อโควิด […]
มูลนิธิฉือจี้ ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลทางพุทธศาสนารายใหญ่ของไต้หวันกล่าววันนี้ว่า ทางมูลนิธิฯ ได้ลงนามในข้อตกลงจัดซื้อวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัวโคโรนา 2019 จำนวน 5 ล้านโดส จากบริษัทไบโอเอนเทค เอสอี ผ่านตัวแทนจำหน่ายของไบโอเอนเทค ในประเทศจีน
21 กรกฎาคม 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Politifact (สหรัฐอเมริกา)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: ผอ. สโมสร Inter Milan ต้นสังกัดของ คริสเตียน อีริคเซน ยืนยันว่านักฟุตบอลคนดังยังไม่ได้ฉีดวัคซีนโควิด 19 สาเหตุอาการหัวใจอักเสบในกลุ่มคนอายุน้อยที่ฉีดวัคซีนโควิด 19 ชนิด mRNA ยังอยู่ในระหว่างการสอบสวน ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีข้อมูลเท็จเผยแพร่ไปทั่วโลก เมื่อ ลูบอส โมเทิล แพทย์และบล็อกเกอร์ชาวเชค กล่าวอ้างผ่าน Twitter ส่วนตัวว่า สาเหตุที่ทำให้ คริสเตียน อีริคเซน นักฟุตบอลทีมชาติเดนมาร์กวัย 29 ปี มีอาการหัวใจวายและล้มหมดสติระหว่างการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 เป็นเพราะอาการไม่พึงประสงค์จากวัคซีนโควิด 19 ของบริษัท Pfizer ที่ฉีดก่อนเดินทางมาร่วมการแข่งขันเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคมที่ผ่านมา โดยอ้างว่าเป็นข้อมูลที่ยืนยันโดยหัวหน้าทีมแพทย์และแพทย์โรคหัวใจประจำทีม Inter Milan สโมสรต้นสังกัดของ คริสเตียน […]
20 กรกฎาคม 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Dogruluk Payi (ตุรกี)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ทำให้เข้าใจผิด บทสรุป: ดร.ทิม เมเยอร์ แพทย์ทีมชาติเยอรมนีย้ำว่านักฟุตบอลในทีมบางคนได้รับวัคซีนโควิด 19 แล้ว 1 เข็ม แต่จะไม่มีใครฉีดวัคซีนระหว่างทัวร์นาเมนต์เพื่อเลี่ยงอาการข้างเคียง ดร.ทิม เมเยอร์หวังว่านักฟุตบอลจะไดฉีดวัคซีนโควิด 19 มากขึ้นในอนาคต ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีข้อมูลเท็จเผยแพร่ผ่านทาง Twitter ในประเทศตุรกี โดยอ้างว่าแพทย์ประจำทีมฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี ไม่ยอมให้นักกีฬาเข้ารับการฉีดวัคซีนโควิด 19 ก่อนร่วมการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป เนื่องจากคิดว่าวัคซีนโควิด 19 เป็นอันตรายต่อนักกีฬา ซึ่งเป็นข้อความที่มีการรีทวิตกว่า 200 ครั้งและมียอดไลท์ 350 ครั้ง FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: การตรวจสอบของ Dogruluk Payi พบว่า ข้อกล่าวอ้างดังกล่าวไม่เป็นความจริง ดร.ทิม เมเยอร์ แพทย์ประจำทีมชาติเยอรมนีกล่าวถึงการฉีดวัคซีนของนักกีฬาทีมชาติระหว่างการแถลงข่าว โดยยืนยันมีนักฟุตบอลบางคนที่ฉีดวัคซีนโควิด 19 เข็มแรกไปแล้ว […]
กระทรวงสาธารณสุขสิงคโปร์กล่าววันนี้ว่า สิงคโปร์จะห้ามการรับประทานอาหารที่ภัตตาคารและห้ามการพบปะรวมตัวกันมากกว่า 2 คนขึ้นไปเป็นเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันพฤหัสบดีนี้เป็นต้นไป ในขณะยอดผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รายใหม่ที่เพิ่มขึ้น กระทบกับแผนการเปิดประเทศอีกครั้งของสิงคโปร์
ครม.รับทราบความคืบหน้าลงนามจัดซื้อวัคซีนไฟเซอร์ 20 ล้านโดส ส่งมอบไตรมาส 4 หนุนไทยมีวัคซีนหลากหลายประเภท เผย อภ.อยู่ระหว่างเจรจานำเข้าชนิดซับยูนิตโปรตีน
สุดารัตน์ จี้รัฐเร่งเจรจานำเข้าวัคซีนคุณภาพดี ที่ป้องกันเชื้อกลายพันธุ์ได้ เพื่อแก้ปัญหาการแพร่ระบาดได้ทัน
กมธ.งบฯฝ่ายค้านจี้ อธิบดีกรมควบคุมโรค ขอดูสัญญาจัดซื้อวัคซีน ร้องถามหาความรับผิดชอบ กรณีสั่งซื้อซิโนแวคแล้วคนไม่กล้าฉีด เรียกร้อง”อนุทิน” เปลี่ยนตัวอธิบดีกรมควบคุมโรค
ส.ส.เพื่อไทย ชี้ล็อกดาวน์ไม่ช่วยหยุดเชื้อ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ แนะตรวจเชิงรุกทุกพื้นที่
20 กรกฎาคม 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Estadão Verifica (บราซิล)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ทำให้เข้าใจผิด บทสรุป: ประสิทธิผล 3% วัดจากการฉีดวัคซีน Sinovac เข็มแรก เมื่อฉีดครบ 2 เข็มประสิทธิผลจะเพิ่มเป็น 56.6% ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีข้อมูลบิดเบือนเผยแพร่ผ่านทาง WhatsApp ในประเทศบราซิล โดยผู้โพสต์อ้างผลวิจัยว่า วัคซีนโควิด 19 มีประสิทธิผลในการป้องกันโรคในผู้สูงอายุเพียงแค่ 3% และจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้รับวัคซีน Sinovac ครบ 2 โดสแล้ว ควรรับวัคซีนโดสที่ 3 เพิ่มเติ่ม โดยเฉพาะวัคซีนที่มาจากบริษัทอื่นๆ FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: ที่มาของข้ออ้างที่ระบุว่าวัคซีนโควิด 19 ของบริษัท Sinovac มีประสิทธิผลเพียง 3% นำมาจากผลการวิจัยของมหาวิทยาลัย Universidad de Chile แต่ตัวเลขดังกล่าวเป็นการวัดประสิทธิผลจากการฉีดวัคซีนโดสแรกเท่านั้น ส่วนประสิทธิผลหลังจากฉีดวัคซีนครบ […]