เตือน ปชช.สวมแมสก์ เหตุโรงงานโฟมระเบิด
กรมอนามัย เตือนประชาชนสวมหน้ากากอนามัย เลี่ยงการสูดดมกลิ่นควันไฟจากโรงงานระเบิด
กรมอนามัย เตือนประชาชนสวมหน้ากากอนามัย เลี่ยงการสูดดมกลิ่นควันไฟจากโรงงานระเบิด
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เผยผลอนามัยโพลพบประชาชนในพื้นที่สีแดงเข้มไม่สวมหน้ากาก หรือสวมหน้ากากไม่ถูกวิธีถึงร้อยละ 35 หวั่นเสี่ยงแพร่เชื้อในชุมชน และไม่แนะนำสวมหน้ากากอนามัยซ้อนกัน 2 ชั้น เพราะอาจเกิดช่องว่างลดความกระชับใบหน้า เสี่ยงต่อการแพร่และติดเชื้อโควิด-19 ย้ำต้องรักษามาตรการอื่นควบคู่กับการสวมหน้ากากด้วย
2 กรกฎาคม 2564 ตรวจสอบข้อเท็จจริง/เรียบเรียง โดย : ภริตพร สุธีพิเชฐภัณฑ์/พีรพล อนุตรโสตถิ์ ตามที่มีการสอบถามข้อมูลเข้ามายังศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ว่า การสวมใส่หน้ากากผ้า ไม่ปลอดภัยในช่วงเวลานี้ นั้น ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงดังกล่าวกับ นางนภพรรณ นันทพงษ์ ผอ.กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และ การชี้แจงข้อมูลผ่านเฟซบุ๊ก “Tor Phiboonbanakit” ของ พ.อ.(พิเศษ) นพ.ธนะพันธ์ พิบูลย์บรรณกิจ ที่ปรึกษาแผนกโรคติดเชื้อ กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ผู้เชี่ยวชาญทั้งสองให้คำแนะนำตรงกันว่า หน้ากากอนามัยเหมาะสมกับการใช้ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง และหากจะสวมหน้ากาก 2 ชั้น ควรสวมหน้ากากอนามัยไว้ด้านในแนบหน้า ส่วนหน้ากากผ้าสวมใส่ข้างนอก บทสรุป : แชร์ได้ แต่ควรอธิบายเพิ่มเติมให้ครบถ้วน ควรใช้หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ เพื่อยกระดับการป้องกันเชื้อเข้าสู่ร่างกาย ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป หน้ากากผ้ายังสามารถใช้ได้ในพื้นที่ที่ไม่ได้มีความเสี่ยงสูง มีหรือมีความแออัด และยอดผู้ป่วยไม่ได้มีจำนวนเพิ่มสูงขึ้น การใช้หน้ากากอย่างเดียวไม่ได้เป็นการการันตีว่าจะไม่ได้รับเชื้อโควิด-19 เพราะการติดเชื้อโควิด-19 ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของบุคคลนั้นๆ ด้วย Fact check : […]
กรมอนามัย ย้ำโรงเรียนที่เปิดสอน คุมเข้มความปลอดภัย ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 เคร่งครัด
กยท.ร่วมกับกรมอนามัยลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือพัฒนาสื่อ ส่งเสริมความรอบรู้เพื่อสุขภาพช่องปากของเด็กปากแหว่งเพดานโหว่และกลุ่มพิเศษ ซึ่งผลิตจากยางพาราฟู้ดเกรดที่ปลอดภัย
9 มิถุนายน 2564 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย : ภริตพร สุธีพิเชฐภัณฑ์ บนสื่อสังคมออนไลน์มีการแชร์ข้อมูลว่า ไม่ควรบริโภคน้ำแข็งในขณะนี้เพราะหลายโรงงานมีพนักงานติดเชื้อโควิด-19 อีกทั้งเชื้อโควิด-19 สามารถอยู่บนพื้นผิวน้ำแข็งได้นาน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบข้อมูลดังกล่าว พบว่า จริงบางส่วน หากจะแชร์ต้องอธิบายเพิ่ม บทสรุป : จริงบางส่วน หากจะแชร์ต่อควรอธิบายเพิ่ม · ผู้เชี่ยวชาญ แนะนำควรทานน้ำแข็งที่ได้รับการผลิตอย่างมีมาตรฐาน GMP เป็นน้ำแข็งสำหรับการบริโภค ไม่ใช่น้ำแข็งเพื่อการถนอมอาหาร· เชื้อไวรัสโควิด-19 สามารถอยู่ได้นานขึ้นในพื้นที่ที่มีอุณหภูมิต่ำและมีความชื้นมากขึ้น· เชื้อไวรัสโควิด-19 หากอยู่บนพื้นผิวของน้ำแข็ง ถ้าอยู่ในพื้นที่แช่เย็นก็จะทำให้เกิดการคงตัวของไวรัส เชื้อจะคงตัว ไม่เกิดการเพิ่มจำนวน· การจะติดเชื้อโควิด-19 ได้นั้น เกิดจากการที่เชื้ออยู่บนพื้นผิวของอาหาร หรือบนพื้นผิวของบรรจุภัณฑ์ ซึ่งเมื่อมือเราไปสัมผัส แล้วเผลอมาป้ายหน้า ป้ายตา แคะจมูก หรือขยี้ตา ก็จะทำให้เชื้อเข้าสู่ร่างกายได้ แต่ไม่ได้ติดจากการที่เรารับประทาน ข้อมูลที่ถูกแชร์บนโลกโซเชียลมีเดียมีการแชร์ข้อมูล “สสจ.เตือนงดกินน้ำแข็งก่อนเพราะโรงน้ำแข็งแทบทั้งนั้นมีผู้ติดเชิ้อและน้ำแข็งโควิตสามารถอยู่ในน้ำแข็งได้นานมาก” “แม้แต่…”กินน้ำแข็ง” ก็”อาจ”ติดโควิดได้…ของกินอื่นๆ ก็เหมือนกันอาจมีเชื้อแฝงมาได้ง่าย, ถ้าคนขาย”ติดเชื้อ”…ระวังกันมากๆ ครับ คลัสเตอร์โรงน้ำแข็ง ปราจีนบุรี วันเดียวติด […]
กรมอนามัย ห่วงความปลอดภัยผู้บริโภคหลังพบผู้ติดเชื้อโควิดในคลัสเตอร์ โรงงานน้ำแข็งพื้นที่ จ.สมุทรปราการและชลบุรี แนะเลี่ยงซื้อน้ำแข็งซองที่ไม่มีการบรรจุหรือแบบบดใส่กระสอบเพื่อจำหน่ายหวั่นปนเปื้อน พร้อมย้ำเลือกใช้น้ำแข็งหลอดบรรจุในถุงปิดสนิทผ่านมาตรฐาน GMP มั่นใจ ปลอดภัยกว่า
กรมอนามัย ยกระดับ 4 มาตรการหลัก “มาตรการด้านการป้องกันโรค มาตรการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรการเสริมสำหรับโรงงานขนาดกลางและขนาดใหญ่ และมาตรการเมื่อพบผู้ติดเชื้อ” ดูแลสถานประกอบกิจการประเภทโรงงาน ป้องกันการแพร่ระบาดโควิด-19
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ห่วงประชาชนบางกลุ่มไม่กล้ากินเนื้อไก่ช่วงนี้ หวั่นเกิดการปนเปื้อนจากโรงงานแปรรูปเนื้อไก่ในจังหวัดสระบุรี แนะเพิ่มความมั่นใจก่อนกินต้องปรุงสุกทุกครั้ง พร้อมย้ำล้างมือให้สะอาดทั้งก่อนและหลังปรุงอาหาร
กรมอนามัย เผยมติประชุมคณะกรรมการอนามัยแม่และเด็กแห่งชาติ “หญิงท้อง-หญิงให้นมลูก” ฉีดวัคซีนโควิดได้ พิจารณาตามความเสี่ยง มีโรคประจำตัว
กรมอนามัย ย้ำโรงงานคุมเข้มโควิด-19 ประเมินผ่านแพลตฟอร์ม ‘Thai Stop COVID Plus’ พนักงานประเมินผ่าน ‘ไทยเซฟไทย’
กรมอนามัย แจงแนวทางปฏิบัติร้านอาหารจำกัดจำนวนผู้ใช้บริการเหลือ 25% ครอบครัวเดียวกัน หรือมาด้วยกัน นั่งร่วมกันได้ไม่เกินโต๊ะละ 4 คน