ต้องปรับแนวทางการทำงานหลังได้ส.ก. 2 ที่นั่ง
“ชัยวุฒิ” รับไม่ส่งผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. มีผลการทำพื้นที่ของส.ก. เหตุได้แค่ 2 ที่นั่ง ยันไม่ได้ลอยแพ ส่วนชัยชนะของ “ชัชชาติ” แค่กทม. ไม่ใช่ทั้งประเทศ คะแนนเยอะเพราะลงอิสระ
“ชัยวุฒิ” รับไม่ส่งผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. มีผลการทำพื้นที่ของส.ก. เหตุได้แค่ 2 ที่นั่ง ยันไม่ได้ลอยแพ ส่วนชัยชนะของ “ชัชชาติ” แค่กทม. ไม่ใช่ทั้งประเทศ คะแนนเยอะเพราะลงอิสระ
“พล.ต.อ.อัศวิน” เผยต้องทำทุกวิถีทางให้ชาวกรุงเทพฯ มีเงินในกระเป๋า หากได้เป็นผู้ว่าฯ กทม.อีกครั้ง
วันนี้จะพาไปดูภารกิจ 1 วัน ของอีกหนึ่งผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. คือ นาวาอากาศตรีศิธา ทิวารี หมายเลข 11 ลงพื้นที่ ซอยละลายทรัพย์ สีลม พร้อมเสนอแนวทางปัญหาน้ำท่วมขังรอการระบาย มั่นใจหากเป็นผู้ว่าฯ กทม. จัดการได้ทันที จะไม่เห็นน้ำท่วมเข่าคนกรุง
ผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ขึ้นเวทีดีเบต ช่อง 9 รอบที่ 2 ประกาศสิ่งที่จะทำทันทีหากได้รับเลือกตั้ง และจะทำอะไรให้ได้ภายใน 4 ปี แนวทางแต่ละคนเป็นอย่างไร ติดตามจากรายงาน
1 Day with วันนี้เราจะไปตามติดชีวิตกับ “จั้ม สกลธี” เจ้าของสโลแกน “กรุงเทพดีกว่านี้ได้” ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 3 ล่องเรือคลองมอญ หาเสียง 4 ชุมชนริมน้ำฝั่งธนบุรี
อสมท 6 พ.ค. – อสมท เปิดเวทีดีเบต ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. ต่างประกาศนโยบายหวังดึงคะแนนคนรุ่นใหม่ ทั้งการสนับสนุนธุรกิจสร้างสรรค์ รวมถึงนโยบายแก้ปัญหาหาบเร่แผงลอย. – สำนักข่าวไทย
“เอ้ สุชัชวีร์” เยี่ยม 1 วัน 10 ชุมชน กว่า 1,000 ชีวิต ได้รับเสียงตอบรับดี มั่นใจทีมงาน “ม่วงศิริ” เขตบางขุนเทียน ลั่นจะเป็นผู้ว่าฯ ที่ดี ไม่ทำให้ผิดหวัง
“เอ้ สุชัชวีร์” ควง “สารัช ม่วงศิริ” ผู้สมัคร ส.ก. เขตบางขุนเทียน เบอร์ 4 ทั้งคู่ เดินลุยฝนหาเสียง ห่วงบางขุนเทียนเจอปัญหา 3 น้ำ น้ำท่วม-น้ำเหนือ-น้ำหนุน ยันต้องใช้หลักวิศวกรรมสู้ภัยธรรมชาติ พร้อมสังคายนาสายไฟอันตรายทั่วกรุงเทพฯ
าฯ กทม.ในนามอิสระ และจากพรรคการเมือง 1 คน ร่วมแสดงวิสัยทัศน์เวที “BKk Focus2 ดีเบตเดือด ปลายเดือนเมษายน” เสนอไอเดียแก้สารพันปัญหา กทม.
“วิโรจน์” พร้อม “ปลวัชร” บุกเยี่ยมชุมชนคนไร้บ้าน ลั่นคนไร้บ้านก็เป็นคน ต้องได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียม
“พล.ต.อ.อัศวิน” ลั่น! ปรับภูมิทัศน์คลองช่องนนทรี ถ้าเงิน 5-6 พันล้านได้แค่นั้น ต้องเอาตนไปตัดคอแล้ว ยืนยันใช้งบฯ เพียง 80 ล้าน
ในการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.ครั้งนี้ จากจำนวนของผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด พบว่า กว่าร้อยละ 20 คือ กลุ่มผู้สูงอายุ 61 ปีขึ้นไป ซึ่งถือว่ามีส่วนสำคัญทำให้ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม.หลายคนนำเสนอนโยบายหวังให้ถูกใจกลุ่มผู้สูงอายุ ถือเป็นอีกหนึ่งนโยบายท้าทาย ในขณะที่ไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์