ชัวร์ก่อนแชร์: นิวซีแลนด์อนุมัติการการุณยฆาตผู้ป่วยโควิด-19 จริงหรือ?

กฎหมายการุณยฆาตนิวซีแลนด์มีไว้สำหรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ต้องการยุติชีวิตให้พ้นจากความเจ็บปวดทรมาน ไม่จำกัดเฉพาะผู้ป่วยโควิด-19 เท่านั้น

ชัวร์ก่อนแชร์: ออสเตรเลียบังคับฉีดวัคซีนโควิด-19 ระหว่างดมยาสลบ จริงหรือ?

ออสเตรเลียอนุญาตการวางยาสลบก่อนการฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้มีอาการกลัวเข็มฉีดยา แต่ต้องได้รับการยินยอมจากผู้รับวัคซีนก่อนทุกครั้ง ห้ามใช้เพื่อบังคับฉีดวัคซีนทุกกรณี

ชัวร์ก่อนแชร์: ออสเตรเลียห้ามคนไม่ฉีดวัคซีนเข้ารับการผ่าตัด จริงหรือ?

ออสเตรเลียกำหนดให้ผู้เข้ารับการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะต้องฉีดวัคซีนโควิด-19 ก่อน เนื่องจากเป็นการผ่าตัดที่ไม่ฉุกเฉิน และผู้ป่วยมีความเสี่ยงป่วยหนักหากติดเชื้อโควิด-19

ชัวร์ก่อนแชร์: โรงพยาบาลโคโลราโดไม่รักษาผู้ป่วยโควิดที่ไม่ฉีดวัคซีน จริงหรือ?

สหรัฐอเมริกามีกฏหมายห้ามไม่ให้โรงพยาบาลปฏิเสธการรักษาจากสถานะทางการเงินของคนไข้ เช่นเดียวกับสถานะการฉีดวัคซีน

ชัวร์ก่อนแชร์: โรงพยาบาลในเท็กซัสไม่รักษาเด็กที่ไม่ฉีดวัคซีนโควิด จริงหรือ?

เป็นข่าวปลอมที่อ้างโดยแพทย์ที่ต่อต้านวัคซีน และเคยประกาศจะไม่รักษาผู้ป่วยที่เคยไปฉีดวัคซีนโควิด-19 Texas Children’s Hospital ยืนยันว่าโรงพยาบาลเด็กในรัฐเท็กซัสไม่ปฏิเสธคนไข้เพียงเพราะการไม่ฉีดวัคซีน

อย.ย้ำวัคซีนโควิด-19 มีความปลอดภัย

อย.ย้ำวัคซีนโควิด-19 ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนผ่านการประเมินตามหลักเกณฑ์ทั้งในด้านความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิผลจากคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ มีการควบคุมคุณภาพวัคซีนทั้งก่อนขึ้นทะเบียนและภายหลังการขึ้นทะเบียน รวมถึงติดตามประเมินความเสี่ยงอย่างใกล้ชิด ขอประชาชนมั่นใจวัคซีน-19 ที่ได้รับอนุญาตจะช่วยลดความสูญเสียจากการติดเชื้อโควิด-19 ได้

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 ทำให้เป็นโรคงูสวัด จริงหรือ?

แม้มีรายงานว่าระบบภูมิคุ้มกันจากวัคซีนโควิด-19 อาจไปกระตุ้นให้ผู้มีเชื้อไวรัสในร่างกายเกิดโรคงูสวัด แต่การติดเชื้อไวรัสโควิด-19 สามารถกระตุ้นการเกิดโรคงูสวัดได้มากกว่า

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 ทำให้เป็นโรคเรื้อน จริงหรือ?

แม้มีรายงานว่าระบบภูมิคุ้มกันจากวัคซีนโควิด-19 อาจไปกระตุ้นให้ผู้มีเชื้อในร่างกายเกิดโรคเรื้อน แต่การติดเชื้อไวรัสโควิด-19 สามารถกระตุ้นการเกิดโรคเรื้อนมากกว่า

ชัวร์ก่อนแชร์: DNA ตกค้างจากวัคซีน mRNA แทรกแซงพันธุกรรมมนุษย์ จริงหรือ?

ดีเอ็นเอตกค้างจากวัคซีนโควิด-19 ชนิด mRNA ไม่สามารถเข้าสู่นิวเคลียสของเซลล์เพื่อแทรกแซงรหัสพันธุกรรมของมนุษย์ได้ ดีเอ็นเอตกค้างยังมีในวัคซีนหลายชนิดและไม่มีในปริมาณที่เป็นอันตราย

ชัวร์ก่อนแชร์: มีคนตายจากวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกกว่า 10 ล้านราย จริงหรือ?

1 ปีหลังการฉีดวัคซีนโควิด-19 นิวซีแลนด์มีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากยกเลิกการล็อกดาวน์ พร้อมกับการแพร่ระบาดของไวรัสโอไมครอน

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : วัคซีนงูสวัด

30 พฤศจิกายน 2566 – วัคซีนงูสวัดป้องกันโรคงูสวัดได้แค่ไหน และใครที่ควรฉีด ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ. พญ.ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล อุปนายกสมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย หัวหน้าสาขาวิชาโรคติดเชื้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์ หมายเหตุ: เนื้อหานี้นำเสนอข้อเท็จจริงตามกรอบมาตรฐานของศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์โดยได้รับการสนับสนุนจาก “ทิงเกอร์” ผู้ขับเคลื่อนงานด้านการสื่อสารข้อมูลสุขภาพ

กรมควบคุมโรค-ภาคีเครือข่าย ขยายความร่วมมือเข้าถึงวัคซีน

กรมควบคุมโรค ร่วมกับภาคีเครือข่าย ขยายความร่วมมือในการเข้าถึงวัคซีน ในโอกาสวันแห่งการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโลก พร้อมเร่งฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก และวัคซีนป้องกันโรคติดต่อในเด็กเล็ก

1 7 8 9 10 11 143
...