ประติมากรรมราวบันไดนาคพระเมรุมาศ
หนึ่งในประติมากรรมประดับพระเมรุมาศ ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คือ “ราวบันไดนาค”
หนึ่งในประติมากรรมประดับพระเมรุมาศ ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คือ “ราวบันไดนาค”
ต้นดาวเรืองพันธุ์คิงส์ เยลโลว์ ทยอยประดับรอบพระเมรุมาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คาดอีก 2 สัปดาห์ จะออกดอกบานสะพรั่งตรงวันพระราชพิธีฯ
งานภูมิสถาปัตยกรรมในการจัดสร้างพระเมรุมาศในพระราชพิธีถวายพระเพลิง ในหลวง ร.9 มีความพิเศษตามหลักแนวคิดภูมิจักรวาล ที่ภูมิสถาปนิก ออกแบบงานมาได้อย่างสอดคล้อง และได้บอกเล่าเรื่องราวโครงการพระราชดำริต่างๆ ไว้อย่างลงตัว
เด็กหญิงวัย 10 ปี ร่วมเป็นจิตอาสาแทงหยวกประดับจิตกาธานถวายดอกไม้จันทน์ พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ
การอัญเชิญพระโกศพระบรมศพพระมหากษัตริย์ขึ้นสู่ราชรถและพระเมรุมาศ ตามโบราณราชประเพณี มีเกรินบันไดนาค และสะพานเกริน ซึ่งเป็นการผสานองค์ความรู้ทางด้านศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ไว้ด้วยกัน
การจัดสร้างประติมากรรมประกอบพระเมรุมาศในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ มีการใช้หลักแนวคิดตามคติความเชื่อไตรภูมิ และยังเป็นประติมากรรมที่มีรูปแบบตามแบบสมัยรัชกาลที่ 9
เป็นครั้งแรกที่นำต้น “คิงออฟคิงส์” สีเหลืองทองงดงาม ประดับพระที่นั่งทรงธรรมและอาคารประกอบพระเมรุมาศ สื่อความหมายถึงในหลวงรัชกาลที่ 9
พระเมรุมาศในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นครั้งแรกที่มีการออกแบบเป็นพระเมรุมาศ 9 ยอด มีความพิเศษ และมีความหมายแฝงนัยตามคติโบราณ
รองนายกรัฐมนตรีมาตรวจความคืบหน้าการจัดสร้างพระเมรุมาศ และสิ่งปลูกสร้างประกอบพระเมรุมาศ พร้อมเผยความคืบหน้าการจัดสร้างพระเมรุมาศว่า ขณะนี้มีความคืบหน้าแล้วร้อยละ 98.6 โดยยังคงเหลือเรื่องการตกเเต่งรายละเอียด
การจัดสร้างพระเมรุมาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ถือเป็นครั้งแรกที่มีการจัดสร้างสระอโนดาตในงานประดับพระเมรุมาศ โดยสื่อถึงพระอัจฉริยภาพของในหลวงรัชกาลที่ 9 ในโครงการพระราชดำริเกี่ยวกับน้ำ
ในพระราชพิธีการถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรี เครื่องประกอบพระราชอิสริยยศที่สำคัญ คือ พระเมรุมาศ มีแบบแผนและประเพณีที่สืบต่อมาอย่างยาวนาน เพื่อถวายพระเกียรติสูงสุดแด่พระมหากษัตริย์
ความงดงามยิ่งใหญ่ของพระเมรุมาศ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ความสูง 50.49 เมตร ซึ่งการจัดสร้างใกล้แล้วเสร็จ เริ่มต้นจากหุ่นจำลองเสมือนจริงขนาดสัดส่วน 1 : 100 เจ้าหน้าที่กลุ่มงานเขียนแบบ สำนักสถาปัตย์ กรมศิลปากร จัดทำขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การสร้างพระเมรุมาศ