ชัวร์ก่อนแชร์: 3 เหตุผลที่รัสเซียจำเป็นต้องรุกรานยูเครน จริงหรือ?

ไม่มีหลักฐานว่าชาวยูเครนส่วนใหญ่สนับสนุนระบอบนาซี, หรือเกิดฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในภูมิภาคดอนบาส และไม่พบว่ายูเครนมีแผนพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์อีกด้วย

ชัวร์ก่อนแชร์ : HIFU รักษามะเร็งระยะสุดท้าย จริงหรือ?

ข้อความที่แชร์ต่อๆ กันมานั้นเป็นข้อความเก่าที่วนมาแชร์ใหม่ ตรวจสอบข้อมูล พบว่า แพทย์ไม่แนะนำถึงการใช้วิธีการรักษา ของ HIFU ในผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย

ชัวร์ก่อนแชร์ : CDS คลอรีนไดออกไซด์ รักษาโควิด จริงหรือ ?

ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานยืนยันว่า โซเดียมคลอไรต์ หรือคลอรีนไดออกไซด์ สามารถรักษาโรค ต่าง ๆ ได้ตามที่กล่าวอ้าง หากประชาชนหลงเชื่อและนำมาผสมน้ำดื่ม ก็อาจจะเกิดอันตรายต่อสุขภาพและเสียโอกาสในการรักษาโรคอย่างแท้จริง

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : ล้อรถยนต์ ตัวการพวงมาลัยสั่น จริงหรือ ?

สาเหตุที่ทำให้พวงมาลัยสั่นเกิดจากล้อนั้นเกิดขึ้นได้จริง แต่ไม่ได้เป็นเพียงล้อเพียงอย่างเดียว ยังรวมไปถึงระบบบังคับเลี้ยวและช่วงล่างร่วมด้วย 

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberAlert!🚨: เตือนภัย! คนร้ายอ้าง Grab ส่งข้อความหลอกแจกโชคใหญ่

วิธีหลอก : แอบอ้างชื่อหน่วยงาน Grab อุบาย : ได้เงินรางวัลมูลค่า 1,999 ช่องทาง : SMS, LINE เตือนภัย !  หากใครได้รับข้อความผ่านทาง SMS และแอปพลิเคชันไลน์ โดยอ้างว่าติดต่อมาจากแกร็บ (Grab) และได้รับสิทธิ์เป็นผู้โชคดีในกิจกรรมพิเศษ โดยต้องกดเข้าลิงก์จาก SMS หรือต้องแจ้งข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ-นามสกุล หมายเลขโทรศัพท์ เพื่อยืนยันการรับสิทธิ์ในการรับรางวัลผ่านทางแอปพลิเคชัน LINE ระวัง อย่ากด อย่ากรอก จะตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพ  ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับทางบริษัทแกร็บ ประเทศไทย (Grab) พบว่า ทางบริษัทฯ ไม่เคยดำเนินกิจกรรมทางการตลาดในรูปแบบดังกล่าว และไม่มีนโยบายในการติดต่อผู้ใช้บริการผ่านช่องทางอื่นที่ไม่ใช่ช่องทางหลักของบริษัทฯ ตลอดจนไม่ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการแชร์ข้อมูลหรือรายละเอียดส่วนตัว รวมถึงทำธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทาง SMS หรือแอปพลิเคชัน LINE และบริษัทฯ ขอแจ้งเตือนให้ผู้ใช้บริการ รวมถึงประชาชนทั่วไป ได้โปรดระมัดระวังและอย่าหลงเชื่อมิจฉาชีพที่มีพฤติการณ์ดังกล่าว ทั้งนี้ หากใครได้รับการติดต่อจากบุคคลภายนอกโดยมีการอ้างถึง Grab บริษัทฯ ได้แนะนำให้ตรวจสอบข้อมูลก่อนดำเนินการใด ๆ […]

ชัวร์ก่อนแชร์: การบินสหรัฐฯ อนุญาตให้นักบินที่หัวใจผิดปกติจากวัคซีนบินได้ จริงหรือ?

ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความปลอดภัยของนักบินที่มีอาการ First-degree AV block แต่มีช่วงพีอาร์ไม่เกิน 0.3 วินาที

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : RANSOMWARE ? — มัลแวร์เรียกค่าไถ่

สร้างความเสียหาย เฉลี่ยถึง 4.3 ล้านดอลลาร์

Ransomware หรือ มัลแวร์เรียกค่าไถ่ ซึ่งแตกต่างจากมัลแวร์ประเภทอื่นๆ โดย Ransomwareจะมีการเข้ารหัสหรือล็อกไฟล์ จนผู้ใช้งานไม่สามารถเปิดไฟล์ใดๆ ได้ หากติดมัลแวร์ตัวนี้ไปแล้ว ซึ่งคนร้ายอาจจะไม่ได้มีจุดประสงค์แค่ขโมยข้อมูล  แต่ต้องการเงิน “เรียกค่าไถ่”

ชัวร์ก่อนแชร์ : คลิปดึงเส้น ๆ ออกจากดวงตา เป็นไปได้จริงหรือ ?

การดึงเส้นสีขาวสีดำออกจากดวงตานั้น เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้จริง เส้นสีขาวเกิดจากโรคภูมิแพ้ขึ้นตา ส่วนสีดำเกิดจากการรักษาโดยจักษุแพทย์ ดังนั้นหากจะแชร์ต่อควรอธิบายว่าสิ่งนี้เกิดจากอะไร เพื่อไม่ให้เกิดความเข้าใจผิด

ชัวร์ก่อนแชร์: สายการบินไม่รับผู้โดยสารที่ฉีดวัคซีน เพราะกลัวลิ่มเลือดอุดตัน จริงหรือ?

ภาวะลิ่มเลือดอุดตันชนิด Economy Class Syndrome ที่พบในผู้โดยสารเครื่องบินที่นั่งเครื่อง เป็นเวลานาน มีความแตกต่างจากภาวะลิ่มเลือดอุดตันจากวัคซีนโควิด-19

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : โรคท่อน้ำตาอุดตัน ในเด็กและผู้ใหญ่

ท่อน้ำตาอุดตัน เป็นภาวะที่ระบบทางเดินท่อน้ำตามีการปิดกั้น ทำให้น้ำตาไม่สามารถระบายออกได้ ส่งผลให้มีน้ำตาไหลหรือน้ำตาคลอตลอดเวลา ซึ่งภาวะนี้เกิดได้ในกรณีเด็กทารกแรกเกิด และผู้ใหญ่ที่อายุมาก

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberTips : 4 เทคนิคใช้สำเนาบัตรประชาชนให้ปลอดภัย

Tips โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์, เสาวภาคย์ รัตนพงศ์ การใช้สำเนาบัตรประชาชนยังเป็นการยืนยันตัวตนหลักในการทำธุรกรรมต่าง ๆ และยิ่งยุคนี้ธุรกรรมส่วนใหญ่ต้องถ่ายรูปบัตรส่งผ่านทางออนไลน์ แล้วแบบนี้เราจะรู้ได้อย่างไรว่า สำเนาบัตรประชาชนของเราจะปลอดภัย ไม่ตกอยู่ในมือของแก๊งมิจฉาชีพ  วันนี้ชัวร์ก่อนแชร์ Cyber Tips ได้รวบรวม 4 เทคนิค ใช้สำเนาบัตรประชาชนให้ปลอดภัย ไม่เสี่ยงโดนขโมยข้อมูลมาฝากทุกคนกันค่ะ 4 เทคนิคใช้สำเนาบัตรประชาชนอย่างไรให้ปลอดภัย ไม่เสี่ยงโดนขโมยข้อมูล  หลายคนอาจจะคุ้นเคยกับการถ่ายสำเนาบัตรทั้งหน้า-หลังบัตร เพราะบัตรประชาชนยุคเก่า วันหมดอายุของบัตรจะอยู่ที่ด้านหลังบัตร ทำให้ต้องถ่ายทั้งหน้าและหลัง แต่ตอนนี้บัตรประชนชนเปลี่ยนไปแล้ว ! ที่บริเวณด้านหลังบัตรจะมีชุดตัวเลขที่เรียกว่า ‘Laser ID’ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐ  การสมัครลงทะเบียนรับสิทธิ์ต่าง ๆ รวมถึงแอปพลิเคชันเกี่ยวกับการชำระเงิน จะใช้เลขบัตรนี้ในการยืนยันตัวตนร่วมกับบัตรประชาชน ดังนั้นหากไม่อยากโดนขโมยข้อมูล อย่าถ่ายสำเนาบัตรประชาชนด้านหลังนะคะ  กรณีที่หน่วยงานหรือทางเว็บไซต์กำหนดให้ต้องถ่ายรูปหรือกรอกข้อมูลตัวเลข Laser ID เราจะเช็กอย่างไรว่าปลอดภัย ? การตรวจสอบให้แน่ใจว่าเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันเหล่านั้น ‘ใช่ตัวจริงหรือไม่? ‘ โดยไล่ดูชื่อเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันทีละตัว รวมถึงดูชื่อผู้พัฒนาแอปพลิเคชัน ต้องเป็นองค์กรผู้ให้บริการเท่านั้น หากไม่ใช่ชื่อที่เราคุ้นหู อย่าหลงไปกรอกข้อมูลใด ๆ ไม่งั้นข้อมูลส่วนบุคคลของเราที่เราหวงแหน อาจตกไปอยู่ในมือของมิจฉาชีพได้ทันที […]

ชัวร์ก่อนแชร์: นักบินกองทัพสหรัฐฯ ลาออกประท้วงบังคับฉีดวัคซีน จริงหรือ?

โฆษกกองทัพอากาศสหรัฐฯ ยืนยันว่าไม่มีนักบินลาออกเพราะนโยบายบังคับฉีดวัคซีนโควิด-19 ของกองทัพ ซึ่งบังคับใช้หลัง FDA ให้การรับรองเต็มรูปแบบแก่วัคซีนโควิด-19 ของ Pfizer

1 58 59 60 61 62 202
...