ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : เข้าใจโรคงูสวัด

14 ธันวาคม 2566 – โรคงูสวัดเกิดขึ้นได้ยังไง อันตรายแค่ไหน และจะมีวิธีการป้องกันได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ. พญ.ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล อุปนายก สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย หัวหน้า สาขาวิชาโรคติดเชื้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีสัมภาษณ์เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2566 และ นพ.มนูญ ลีเชวงวงศ์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยหนัก และผู้สูงอายุ สัมภาษณ์เมื่อ 3 พฤศจิกายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : น้ำตาเทียม

15 ธันวาคม 2566 – น้ำตาเทียมมีกี่ชนิด ชนิดไหนเหมาะกับใคร และมีวิธีการใช้งานที่ถูกต้องอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ  ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 21 พฤศจิกายน 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : BED BUG รู้จัก “ตัวเรือด”

10 ธันวาคม 2566 – Bed Bug แมลงดูดเลือดที่กำลังแพร่ระบาด แมลงชนิดนี้อันตรายแค่ไหน และเราควรจัดการอย่างไร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.ดร.เผด็จ สิริยะเสถียร หัวหน้าภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย BED BUG หรือตัวเรือด คืออะไร ? คือ แมลงดูดเลือดชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นแมลงตัวเล็กสีดำหรือสีน้ำตาล ลำตัวจะออกแบน รี มีขาแต่ไม่มีปีก มีปากที่แหลม ทั้งตัวผู้และตัวเมียดูดเลือดมนุษย์ ตัวเรือดนั้นสามารถแพร่พันธุ์ได้เร็วมาก ไข่จะมีสีขาวแต่พอใกล้ฟักตัวจะเป็นสีเข้มข้น ตัวเรือดมักชอบมาอยู่บนที่นอน ปลอกหมอน ผ้าห่ม หรือรอยแตกตามผนัง ดังนั้น ถ้ารู้สึกว่าตัวอะไรกัดบนที่นอน ให้สันนิษฐานว่าเป็นตัวเรือดไว้ก่อน จะได้เตรียมหาวิธีกำจัดทัน สัมภาษณ์เมื่อ : 23 พฤศจิกายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : BED BUG ป้องกันและกำจัด “ตัวเรือด”

11 ธันวาคม 2566 – ใครที่วางแผนเดินทางไปต่างประเทศ แต่ได้ยินข่าว Bed Bug แมลงดูดเลือดกำลังแพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ ควรต้องเตรียมตัวอย่างไร และหากพบตัวเรือดที่บ้าน ต้องกำจัดอย่างไร ? ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.ดร.เผด็จ สิริยะเสถียร หัวหน้าภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำแนะนำวิธีกำจัดตัวเรือดเบื้องต้น 1. สำรวจแหล่งกบดานของตัวเรือดอยู่ตรงไหนบ้าง ไม่ว่าจะเป็นตามโครงเตียง ที่นอน โซฟา ตามซอกหลืบของผนัง ฯลฯ ถ้าพบว่ามีมูลจุดดำเล็ก ๆ เดาไว้ก่อนว่าตรงนั้นต้องมีตัวเรือดอยู่ 2. ใช้ความร้อนกำจัดตัวเรือด การซักด้วยน้ำร้อนอุณหภูมินี้จะทำให้ตัวเรือดถูกฆ่าอย่างรวดเร็วส่วนเฟอร์นิเจอร์ชิ้นไหนที่เคลื่อนย้ายไม่ได้ ต้องค้น รื้อ ออกมา และใช้สเปรย์กำจัดตัวเรือด ต้องฉีดพ่นให้โดนตัวเรือดมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ หลังจากใช้สเปรย์ฉีดจนทั่วแล้วหรืออาจจะทิ้งของใช้ที่มีตัวเรือด ฟูกที่นอนก็ควรเปลี่ยนใหม่ 3. การใช้สารสกัดสมุนไพร หรือน้ำมันหอมระเหยถือเป็นการไล่ตัวเรือดให้อพยพหนีไปเองได้เช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม ต้องเข้าใจว่าตัวเรือดเป็นแมลงสายพันธุ์อึด ถึก พวกมันสามารถแอบซ่อนโดยไม่ต้องออกมากินเลือดได้นานถึง 6 เดือนหรือมากกว่านั้น สัมภาษณ์เมื่อ : 23 พฤศจิกายน 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : เข้าใจสาเหตุเด็กมองไม่เห็นกะทันหัน

3 ธันวาคม 2566 ตามองไม่เห็นกระทันหันในเด็ก เกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง และจะต้องรักษาอย่างไร ? ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 24 ตุลาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : แผลที่กระจกตา หรือ กระจกตาติดเชื้อ

1 ธันวาคม 2566 แผลที่กระจกตา เกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง อันตรายแค่ไหน และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ? ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 21 พฤศจิกายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : วัคซีนงูสวัด

30 พฤศจิกายน 2566 – วัคซีนงูสวัดป้องกันโรคงูสวัดได้แค่ไหน และใครที่ควรฉีด ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ. พญ.ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล อุปนายกสมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย หัวหน้าสาขาวิชาโรคติดเชื้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์ หมายเหตุ: เนื้อหานี้นำเสนอข้อเท็จจริงตามกรอบมาตรฐานของศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์โดยได้รับการสนับสนุนจาก “ทิงเกอร์” ผู้ขับเคลื่อนงานด้านการสื่อสารข้อมูลสุขภาพ

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : ขับรถลงเขา ทำให้เบรกไหม้ จริงหรือ ?

28 พฤศจิกายน 2566 – ตามที่มีการแชร์คำเตือนสำหรับผู้ใช้งานรถยนต์ว่า การขับรถลงเขา จะทำให้เบรกของรถยนต์เกิดการไหม้ได้นั้น บทสรุป : จริง แชร์ได้ ✅ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 21 พฤศจิกายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ตามองไม่เห็นกะทันหันในเด็ก

27 พฤศจิกายน 2566 – ตามองไม่เห็นกะทันหันในเด็กเกิดจากสาเหตุใด รุนแรงแค่ไหน และมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 24 ตุลาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์ 

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ตาเหลือง

20 พฤศจิกายน 2566 – ตาเหลือง ไม่ใสแจ๋ว เกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์​ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ตาเหลืองไม่ใสแจ๋ว เกิดจากสาเหตุใด ตาเหลือง อาจเกิดจากโรคตับอักเสบ หรือ ดีซ่าน อาการตาเหลืองเกิดจากการรวมตัวกันของสารบิลิรูบิน (Bilirubin) สารสีเหลืองที่มีอยู่ในน้ำดี ซึ่งเมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับตับ ผู้ป่วยจะมีสารบิลิรูบินในกระแสเลือดสูงกว่าปกติ ซึ่งทำให้เยื่อตาเป็นสีเหลือง ทำตาขาวมีลักษณะเป็นสีเหลืองทั่วดวงตาทั้งสองข้าง สาเหตุที่ทำให้ตาเหลือง 1.ความผิดปกติของตับหรือถุงน้ำดี มีการสะสมของบิลิรูบินอาจทำให้เกิดอาการตาเหลืองได้เช่นเดียวกัน 2.บางท่านตาโดนลม ฝุ่น หรือแสงอัลตร้าไวโอเลตเป็นเวลานาน อาจทำให้บริเวณเยื่อบุตาขาวมีลักษณะสีออกไปทางเหลือง ขุ่น หรือออกสีเทา ๆ จะทำให้ดวงตาไม่สดใส 3.ความผิดปกติจากระบบการทำงานของเลือด และอวัยวะอื่น ๆ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรค เช่น โรคโลหิตจาง หรือ โรคโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตก เป็นต้น สัมภาษณ์เมื่อ : 24 ตุลาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : การใช้เมลาโทนิน

19 พฤศจิกายน 2566 – เมลาโทนินคืออะไร ทำหน้าที่อย่างไร จำเป็นแค่ไหน และเราควรกินเมลาโทนินเสริมหรือไม่ ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พญ.ปุณฑริก ศรีสวาท ศูนย์นิทราเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สัมภาษณ์เมื่อ : 29 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : รู้จักเมลาโทนิน

17 พฤศจิกายน 2566 – เมลาโทนินคืออะไร เป็นสารที่ร่างกายสร้างเองได้หรือไม่ หรือจำเป็นกับร่างกายมากแค่ไหน และเกี่ยวข้องกับการนอนหลับอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พญ.ปุณฑริก ศรีสวาท ศูนย์นิทราเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมลาโทนินคืออะไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับการนอนหลับ ? เมลาโทนิน คือ ฮอร์โมนที่ร่างกายสร้างขึ้น โดยจะหลั่งสารนี้ออกมาจากสมองในช่วงพระอาทิตย์ตก เมื่อตาไม่ได้รับแสง ก็เหมือนเป็นการบอกเวลาให้กับสมองและร่างกายของเราว่าถึงเวลาพักผ่อน เมลาโทนิน จะทำงานสัมพันธ์กับ “นาฬิกาชีวิต” ร่างกายของเราจะคอยบอกเวลาตื่นยามเช้า หลับในตอนกลางคืน สังเกตได้ว่าหากมีการทำกิจกรรมเหล่านี้สม่ำเสมอ เราจะรู้สึกง่วงเวลาเดิม ปกติในคนที่ไม่มีปัญหาการนอนหลับนั้น สารเมลาโทนินเริ่มหลั่งตั้งแต่ 2 ทุ่ม และมากที่สุดในช่วงเวลาประมาณ 4 ทุ่ม จากนั้นจะเริ่มลดลงเรื่อย ๆ ดังนั้นหากเราไม่หลับในช่วงดังกล่าว จะเริ่มนอนหลับยากขึ้น และเมื่อสายตาเราต้องเจอกับแสงสีฟ้าในเวลากลางคืน สมองจะหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินออกมาได้ไม่เพียงพอ ทำให้นอนหลับยากและอาจถึงขั้น นอนไม่หลับ การใช้เมลาโทนิน เมลาโทนินบรรเทาปัญหาการนอนหลับได้หลายกลุ่มอาการก็จริง แต่ก็ไม่ควรซื้อเมลาโทนินมากินเอง ควรปรึกษาแพทย์และใช้ภายใต้คำแนะนำของแพทย์จะดีกว่า สัมภาษณ์เมื่อ : 29 สิงหาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย […]

1 4 5 6 7 8 9
...