
ยา 6 ชนิด เตรียมไว้ใช้รักษาโควิดเป็นข่าวปลอม
ตำรวจ ตรวจสอบข่าว “ยา 6 ชนิด ที่เตรียมไว้ใช้รักษาโควิด-19 ด้วยตัวเองที่บ้าน” พบว่าเป็นข่าวปลอม
ตำรวจ ตรวจสอบข่าว “ยา 6 ชนิด ที่เตรียมไว้ใช้รักษาโควิด-19 ด้วยตัวเองที่บ้าน” พบว่าเป็นข่าวปลอม
ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศ ห้ามเสนอข่าวอันเป็นเท็จ ทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว กระทบต่อความมั่นคงรัฐ หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ในเขตพื้นที่ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน หากพบมีการกระทำผิด ให้ กสทช. ควบคุมระงับการให้บริการทางอินเทอร์เน็ต และส่งดำเนินคดี
“ชัยวุฒิ” รมว.ดีอีเอส แจงสื่อฯ รัฐบาลออกมาตรการเข้มเพื่อแก้ไขสถานการณ์ ไม่ได้จ้องจับผิดหรือจำกัดเสรีภาพสื่อ
ผบ.ตร. ขานรับนายกฯ สั่งเข้ม ตรวจสอบ Fake News พร้อมดำเนินคดี ยันไม่ใช้กฎหมายปิดปาก วิจารณ์อย่างสุจริตยังทำได้
นายกฯ โพสต์เฟซบุ๊ก เผยผลประชุม ครม.มีมติลดค่าใช้จ่ายทางการศึกษาช่วยเหลือผู้ปกครองและนักศึกษาทั่วประเทศ งบประมาณรวม 33,000 ล้านบาท พร้อมกำชับกระทรวงต่างๆ แก้ปัญหาข่าวปลอมอย่างจริงจังและรวดเร็ว
รองโฆษก ตร. เผยตรวจพบข่าวปลอม 3 กรณี เตือนประชาชนอย่าหลงเชื่อ และขอความร่วมมือไม่แชร์ข้อมูลดังกล่าวในช่องทางออนไลน์ ป้องกันความสับสนและตื่นตระหนก
โฆษกดีอีเอส เผยข่าวปลอม อย่าแชร์! ภาพประชาชนชาวไทยเสียชีวิต ถูกห่อไว้เป็นจำนวนมาก วอนประชาชนตรวจสอบข้อมูลถูกต้อง
โฆษก ก.ต่างประเทศ ยืนยันทางการ สปป ลาว ไม่ได้เปิดให้คนไทยเดินทางเข้าไปฉีดวัคซีนฟรี ชี้ข่าวดังกล่าวไม่เป็นความจริง
อธิบดีกรมการแพทย์ ชี้แจงข่าวปลอมอ้างแนวทางการรักษาคนไข้โควิด-19 ของกรมการแพทย์ ไม่มีการปั๊มหัวใจใดๆ ไม่มีการสอบถามญาติถึงความต้องการในการช่วยฟื้นคืนชีพ ไม่เป็นความจริง ไม่ควรแชร์ข้อความต่อ ระบุแนวทางการรักษาที่เชื่อถือได้ สามารถดูได้จากเว็บไซต์กรมการแพทย์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชฯ เผยข่าวปลอม อย่าแชร์! ข้อมูลที่ระบุว่าเซฟก่อนฉีด! ข้อแนะนำที่ควรรู้ ก่อนฉีดวัคซีน SINOVAC
“พล.อ.ประวิตร” สั่งทุกหน่วยบูรณาการตอบโต้ พร้อมเอาผิดตามกม.การเสนอข่าวปลอม กำชับกรมประชาสัมพันธ์เร่งสร้างความเข้าใจประชาชน
คลังแนะติดตามข่าวสาร จากช่องทางการสื่อสารทางราชการ ยอมรับมีข้อมูลสับสนจากหลายสื่อ