ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : รถยนต์ไฟฟ้า คันเร่งค้างง่ายกว่ารถยนต์ทั่วไป จริงหรือ ?

20 มิถุนายน 2566 – จากกรณีมีข้อความเตือนว่ารถยนต์ไฟฟ้า สามารถเกิดอาการคันเร่งค้างง่ายกว่ารถยนต์ทั่วไปนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.ยศพงษ์​ ลออนวล นายกสมาคมกิตติมศักดิ์ สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย และ หัวหน้าศูนย์วิจัย Mobility & Vehicle Technology Research Center มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี รถยนต์ไฟฟ้า คันเร่งค้างง่ายกว่ารถยนต์ทั่วไป ? ปัญหาคันเร่งค้างสามารถเกิดได้กับรถยนต์ทุกประเภท แต่ต้องดูว่าสาเหตุมาจากอะไร ทุกวันนี้รถยนต์รุ่นใหม่จะใช้คันเร่งแบบไฟฟ้าแทบทั้งหมด หากเป็นความผิดพลาดจากระบบมักเกิดขึ้นน้อยมาก ส่วนใหญ่จะมีอะไรบางอย่างทำให้คันเร่งค้าง เช่น กรณีคนขับเป็นผู้หญิงแล้วใส่รองเท้าส้นสูง อาจทำให้ส้นรองเท้าไปขัดกับคันเร่ง หรือมีขวดน้ำหรือสิ่งของที่อยู่ในรถไปขัดไว้ เมื่อเกิดสภาวะนี้ขึ้นหลายคนก็จะสติหลุด ทำตัวไม่ถูก ไม่รู้จะควบคุมอย่างไรดี  ศ.ดร.ยศพงษ์​ ได้ให้คำแนะนำเมื่อพบว่ารถมีอาการคันเร่งค้าง ผู้ขับควรตั้งสติและพยายามใช้เบรกเพื่อชะลอความเร็วรถลง โดยในรถที่ใช้เกียร์อัตโนมัตินั้น ค่อย ๆ เหยียบเบรกประคองรถเข้าข้างทาง จากนั้นให้เปลี่ยนเกียร์มาตำแหน่งเกียร์ว่าง (N) ปล่อยให้รถเคลื่อนตัวไปช้า ๆ สลับกับการแตะเบรกเป็นระยะ อย่างไรก็ตาม ผู้ขับต้องมีสติและเรียนรู้วิธีแก้ไขสถานการณ์ กรณีคันเร่งค้างจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายร้ายแรงทำให้สามารถควบคุมเหตุฉุกเฉินได้อย่างปลอดภัย […]

ชัวร์ก่อนแชร์: ห้างดังขายชุดว่ายน้ำสำหรับสตรีข้ามเพศให้เด็ก จริงหรือ?

Target นำชุดว่ายน้ำชนิด Tuck-Friendly มาขายในแผนกสำหรับผู้ใหญ่ แต่ไม่มีขนาดสำหรับเด็กหรือวางขายในแผนกสำหรับเด็กตามที่กล่าวอ้าง

ต่อไปนี้ฉันจะรู้ทันภัยไซเบอร์ | ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST | THE CYBER MINDSET

23 มิถุนายน 2566 เริ่มต้นบทที่ 3 กับบทที่ชื่อว่า “ต่อไปนี้ฉันจะรู้ทันภัยไซเบอร์” เมื่อเหล่ามิจฉาชีพ มักก้าวหน้านำเราไปทุกที ตัวเรา ก็ต้องตามเหล่ามิจฉาชีพให้ทัน เพื่อไม่ตกเป็นเหยื่อจากกลลวงใหม่ ๆ มาสร้างการตื่นรู้และหาวิธีป้องกันตนเองจากภัยไซเบอร์ ได้ใน ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST ซีรีส์ THE CYBER MINDSET กับ “อาจารย์ปริญญา หอมเอนก” ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยไซเบอร์ ดำเนินรายการโดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ ซีรีส์ THE CYBER MINDSET จะนำเสนอเนื้อหาที่ช่วยตอบข้อสงสัยและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข่าวในโลกไซเบอร์ที่อาจใกล้ตัวคุณผู้ฟังมากกว่าที่คิด เพื่อลดความเสี่ยงการถูกโจรกรรมทางออนไลน์และเสริมภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้ไม่ตกเป็นเหยื่อจากความไม่รู้เท่าทัน #THECYBERMINDSET #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST รู้ทันไซเบอร์ สร้างความเข้าใจ ใช้งานปลอดภัยไปกับ #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST พอดแคสต์ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันสื่อ สังคม ภัยไซเบอร์และเข้าถึงข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน จัดทำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท

ชัวร์ก่อนแชร์ : สมุนไพรรักษาโรค SLE หรือโรคแพ้ภูมิตนเองได้ จริงหรือ ?

ไม่ควรซื้อยา สมุนไพรต่าง ๆ มารับประทานเอง พราะหลงเชื่อคำโฆษณาว่าสามารถรักษาโรคให้หายขาดได้ ควรอยู่ในการควบคุมของแพทย์เพื่อให้การรักษามีประสิทธิภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วย ดังนั้นจึงไม่ควรแชร์ต่อ

ชัวร์ก่อนแชร์: Disney สูญเสียรายได้อย่างหนักเพราะสนับสนุน LGBTQ+ จริงหรือ?

รายได้ของบริษัท Walt Disney Company ในรอบครึ่งปีของปีงบประมาณ 2023 (ตุลาคม 2022-มีนาคม 2023) เพิ่มจาก 41,068 ล้านดอลลาร์ เป็น 45,327 ล้านดอลลาร์ หรือเพิ่มขึ้น 10% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

Anti Woke กับกระแสต่อต้าน LGBTQ+ ในสหรัฐฯ

กระแส Anti Woke ที่รุนแรงที่สุดใน 2023 คือการต่อต้านกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศหรือกลุ่ม LGBTQ+ เมื่อนักการเมืองฝ่ายอนุรักษ์นิยม นำประเด็นที่ก่อให้เกิดข้อโต้แย้งในสังคมของกลุ่ม LGBTQ+ มาใช้ในการหาเสียง

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต ประโยชน์ของขิงและขมิ้น จริงหรือ ?

21 มิถุนายน 2566 – จากกรณีมีการแชร์เรื่องราวเกี่ยวกับสรรพคุณของขมิ้นและขิงเอาไว้มากมาย ทั้งช่วยลดน้ำหนัก ปรับสมดุลในมดลูก และการต้มน้ำขิงดื่มแด้นิ้วล็อกได้นั้น เรื่องไหนจริง เรื่องไหนเท็จ พบคำตอบได้ที่ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST ร้อยเรียงเรื่องฮิต ติดอันดับกับชัวร์ก่อนแชร์ อันดับที่ 1 : ขมิ้นชันประโยชน์มากมาย จริงหรือ ? มีการแชร์ว่า ขมิ้นชันมีสารพัดวิตามิน พร้อมสรรพคุณมากมาย ต้องกินตามเวลาจะป้องกันและช่วยรักษาได้หลายโรค ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ :  รศ.ดร.ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์ อาจารย์ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล และ นพ.ธีรวุฒิ คูหะเปรมะ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลวัฒโนสถ บทสรุป : จริงบางส่วน ไม่ควรแชร์ ⚠️ “การจะใช้ขมิ้นชันเพื่อหวังรักษาโรคร้ายที่เป็นมานานให้หายขาดนั้นเป็นไปได้ยาก ในด้านของโรคมะเร็ง ขมิ้นชันมีสารเคอร์คูมินอยด์ (Curcuminoid) อาจจะช่วยลดความเป็นพิษของคีโม แต่ไม่ได้รักษาให้มะเร็งหายขาดได้” อันดับที่ 2 : น้ำขิงสดลดน้ำหนัก ปรับสมดุลมดลูก จริงหรือ ? มีการแชร์ข้อความเทคนิคการลดความอ้วนและปรับสมดุลในมดลูกด้วยการดื่มน้ำขิง ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ […]

ป้องกัน ระวัง ห่างไกล อุบัติภัยไซเบอร์| ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST | THE CYBER MINDSET

21 มิถุนายน 2566 อุบัติเหตุ สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา แม้แต่บนโทรศัพท์มือถือ คุณอาจไม่รู้ตัวเลยว่า ขณะที่คุณกำลังเพลิดเพลินอยู่บนโลกไซเบอร์ คุณอาจเกิดอุบัติเหตุทางไซเบอร์ขึ้นก็ได้ คำว่า Safety & Security จึงต้องเกิดขึ้นมาเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้นได้ มาร่วมหาแนวทางป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางไซเบอร์ได้ใน ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST ซีรีส์ THE CYBER MINDSET กับ “อาจารย์ปริญญา หอมเอนก” ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยไซเบอร์ ดำเนินรายการโดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ ซีรีส์ THE CYBER MINDSET จะนำเสนอเนื้อหาที่ช่วยตอบข้อสงสัยและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข่าวในโลกไซเบอร์ที่อาจใกล้ตัวคุณผู้ฟังมากกว่าที่คิด เพื่อลดความเสี่ยงการถูกโจรกรรมทางออนไลน์และเสริมภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้ไม่ตกเป็นเหยื่อจากความไม่รู้เท่าทัน #THECYBERMINDSET #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST รู้ทันไซเบอร์ สร้างความเข้าใจ ใช้งานปลอดภัยไปกับ #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST พอดแคสต์ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันสื่อ สังคม ภัยไซเบอร์และเข้าถึงข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน จัดทำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท

SWISS CHEESE MODEL : ทฤษฏีเนยแข็ง | ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST | THE CYBER MINDSET

22 มิถุนายน 2566 “SWISS CHESSE MODEL” หรือทฤษฎีเนยแข็ง หลายคนฟังแล้วอาจสงสัยว่า ทฤษฎีที่ชื่อเหมือนของกินนี้ จะเกี่ยวข้องอะไรกับภัยบนโลกไซเบอร์ และจะมีผลกระทบกับชีวิตเรามากน้อยแค่ไหน มาร่วมไขข้อสงสัยว่าทฤษฎีนี้คืออะไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับโลกไซเบอร์ได้ใน ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST ซีรีส์ THE CYBER MINDSET กับ “อาจารย์ปริญญา หอมเอนก” ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยไซเบอร์ ดำเนินรายการโดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ ซีรีส์ THE CYBER MINDSET จะนำเสนอเนื้อหาที่ช่วยตอบข้อสงสัยและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข่าวในโลกไซเบอร์ที่อาจใกล้ตัวคุณผู้ฟังมากกว่าที่คิด เพื่อลดความเสี่ยงการถูกโจรกรรมทางออนไลน์และเสริมภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้ไม่ตกเป็นเหยื่อจากความไม่รู้เท่าทัน #THECYBERMINDSET #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST รู้ทันไซเบอร์ สร้างความเข้าใจ ใช้งานปลอดภัยไปกับ #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST พอดแคสต์ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันสื่อ สังคม ภัยไซเบอร์และเข้าถึงข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน จัดทำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท

ชัวร์ก่อนแชร์: โรงพยาบาลบำบัดเพศเด็ก เพียงเพราะเล่นของเล่นไม่ตรงเพศ จริงหรือ?

การเลือกของเล่น เป็นเพียง 1 ใน 8 พฤติกรรมที่ใช้ตรวจสอบเด็กที่เข้าข่ายมีภาวะ Gender Dysphoria และไม่มีการใช้ฮอร์โมนหรือการผ่าตัดเพื่อการข้ามเพศในเด็กเล็ก

ชัวร์ก่อนแชร์: การบำบัดเพื่อการข้ามเพศทำให้วัยรุ่นฆ่าตัวตายมากขึ้น จริงหรือ?

การบำบัดเพื่อการข้ามเพศในเด็กที่มีภาวะ Gender Dysphoria ช่วยลดความเสี่ยงการฆ่าตัวตายของกลุ่มวัยรุ่น LGBTQ+ อีกด้วย

1 94 95 96 97 98 135
...