![](https://tna.mcot.net/wp-content/uploads/2021/06/S__8331368-1-685x360.jpg)
11 มิถุนายน 2564 กทพ. ย้ายสถานที่ทำงานใหม่ไปยังศูนย์บริหารทางพิเศษ เลขที่ 111
11 มิถุนายน 2564 กทพ. ย้ายสถานที่ทำงานใหม่ไปยังศูนย์บริหารทางพิเศษ เลขที่ 111
11 มิถุนายน 2564 กทพ. ย้ายสถานที่ทำงานใหม่ไปยังศูนย์บริหารทางพิเศษ เลขที่ 111
นายกฯ โพสต์เฟซบุ๊ก 14 มิ.ย.นี้ ผ่อนคลายมาตรการสถานที่ 5 ประเภท กรุงเทพมหานคร เปิดได้ปกติ พร้อมเปิดภูเก็ตรับนักท่องเที่ยวแบบไม่ต้องกักตัว 1 ก.ค.นี้
ทีมชาติไทยเก็บชัยชนะนัดแรกสำเร็จ ศึกวอลเลย์บอลเนชั่นส์ ลีก 2021 ที่ เมืองริมินี ประเทศอิตาลี หลังชนะเยอรมนี 3-1 เซต
โครงการพิเศษ “ผนึกกำลังข่าวออนไลน์สู้ภัยโควิด” (SaveThai2021) โดยมติที่ประชุมกรรมการบริหารสมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์ เห็นชอบให้จัดทำโครงการดังกล่าว ซึ่งเป็นโครงการที่จะร่วมมือกันผลิตข่าวสาร นำเสนออย่างครบถ้วนรอบด้านและทั่วถึง
12 มิถุนายน 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Politifact (สหรัฐอเมริกา)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: เป็นการบิดเบือนตัวเลขโดย Gateway Pundit เว็บไซต์อนุรักษ์นิยมของสหรัฐฯ รายงานการเสียชีวิตหลังการฉีดวัคซีนของ VAERS ไม่สามารถนำมาอ้างอิงได้ เนื่องจากยังไม่ผ่านการตรวจสอบว่ามีความสัมพันธ์กับวัคซีนหรือไม่ ข้อมูลที่ถูกแชร์: เป็นข้อมูลเท็จที่เผยแพร่ทาง Facebook โดย Gateway Pundit เว็บไซต์อนุรักษ์นิยมของสหรัฐฯ โดยอ้างว่าหน่วยงานป้องกันโรคติดต่อในสหรัฐอเมริกา (CDC) เปิดเผยข้อมูลว่า ในปี 2021 ที่มีการฉีดวัคซีนโควิด 19 อย่างแพร่หลายในประเทศ พบการเสียชีวิตจากวัคซีนในสหรัฐฯ ถึง 1,755 ครั้ง ขณะที่ช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ยอดผู้เสียชีวิตจากวัคซีนในสหรัฐฯ มีแค่ 994 ครั้ง อย่างไรก็ดี ข้อความดังกล่าวได้ถูก Facebook ตั้งสถานะให้เป็นข่าวปลอมในเวลาต่อมา FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: ตัวเลขการเสียชีวิตที่ Gateway […]
11 มิถุนายน 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Stopfake (ยูเครน)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: Gavi องค์กรพันธมิตรเพื่อวัคซีน ยืนยันว่าวัคซีนโควิด 19 ไม่สามารถเปลี่ยนรหัสพันธุกรรมหรือรสนิยมทางเพศได้ ซาอิด นามากิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขอิหร่าน แจ้งเตือนประชาชนให้ระวังการตกเป็นเหยื่อมิจฉาชีพที่นำข้ออ้างทางศาสนาและวิธีรักษาแบบพื้นบ้านมาหลอกลวงประชาชน ข้อมูลที่ถูกแชร์: เป็นข้อมูลเท็จที่เผยแพร่ผ่าน Telegram ของ อายะตุลลอฮ์ อับบาส ทาบริเซียน นักสอนศาสนาชาวอิหร่านที่ส่งไปยังผู้ติดตามกว่าสองแสนคน โดยเนื้อหาเป็นการโจมตีวัคซีนโควิด 19 ว่ามีไมโครชิปที่เกิดจากการตัดต่อพันธุกรรม เมื่อฉีดไปแล้วผู้รับวัคซีนจะไม่เหลือความเป็นมนุษย์, มีสภาพไม่ต่างจากหุ่นยนต์, สูญสิ้นศรัทธา, ขาดคุณธรรม และจะกลายเป็นคนรักเพศเดียวกัน FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: ทาบริเซียน ซึ่งอ้างตนว่าเป็น “บิดาการแพทย์อิสลาม” เคยอ้างว่ารักษาผู้ป่วยโควิด 19 ได้วันละ 150 คน และโจมตีวัคซีนโควิด 19 ว่าเป็นผลงานของขบวนการชาตินิยมยิว (Zionist) และการฉีดวัคซีนก็คือการล่าอาณานิยมทางการแพทย์รูปแบบหนึ่ง ไม่ใช่ครั้งแรกที่นักสอนศาสนากล่าวอ้างว่าวัคซีนมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรสนิยมทางเพศ โดยเมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา […]
กทพ. แจ้งปิดและเบี่ยงการจราจรทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์)
11 มิถุนายน 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Myth Detector (จอร์เจีย)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: พิสูจน์ไม่ได้ บทสรุป: อาการสั่นรุนแรง (Strong Tremor) ไม่จัดเป็นหนึ่งในอาการข้างเคียงจากวัคซีนโควิด 19 ชนิดไหนๆ บุคคลที่อยู่ในคลิปไม่สามารถยืนยันได้ว่าฉีดวัคซีนโควิด 19 มาจริงหรือไม่ ก่อนจะลบคลิปของตนเองในภายหลัง ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีการเผยแพร่คลิปวิดีโอผ่านทาง Facebook ในสหรัฐอเมริกา โดยผู้โพสต์วิดีโออ้างว่าผู้หญิงสองคนที่อยู่ในคลิปเพิ่งผ่านการฉีดวัคซีนโควิด 19 ของบริษัท Pfizer และ Moderna แต่พอกลับถึงบ้านก็มีอาการสั่นรุนแรงคล้ายอาการชักกระตุก ทำให้การพูดและการขยับตัวลำบากจนควบคุมตัวเองไม่ได้ FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: เว็บไซต์ตรวจสอบข้อเท็จจริง PolitiFact ของสหรัฐอเมริกา ได้ติดต่อไปยังผู้หญิงในคลิปและผู้เกี่ยวข้องกับเธอทั้งสองคนเพื่อขอคำยืนยัน แต่ทั้งสองคนต่างไม่ยอมบอกว่าได้รับการวัคซีนโควิด 19 มาจริงหรือไม่ และทำการลบคลิปดังกล่าวจาก Facebook ของตนเองแล้วทั้งคู่ อาการสั่นรุนแรง (Strong Tremor) ไม่จัดเป็นหนึ่งในอาการข้างเคียงจากวัคซีนโควิด 19 ชนิดไหนๆ และยังไม่มีรายงานในประเทศใดที่พบคนมีอาการดังกล่าวหลังจากฉีดวัคซีนโควิด […]
10 มิถุนายน 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Politifact (สหรัฐอเมริกา)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: เป็นการกล่าวอ้างโดยแพทย์ผู้มีแนวคิดต่อต้านวัคซีน หน่วยงานป้องกันโรคติดต่อในสหรัฐอเมริกาและบริษัท Pfizer ต่างยืนยันว่าวัคซีนโควิด 19 ไม่ทำให้ผู้รับวัคซีนมีปัญหาในการตั้งครรภ์แต่อย่างใด ข้อมูลที่ถูกแชร์: เป็นข้อมูลเท็จที่เผยแพร่ผ่านคลิปวิดีโอทาง Instagram ของ ดร.เชอร์รี เทนเพนนี แพทย์โรคกระดูกและกล้ามเนื้อชาวอเมริกัน ผู้เผยแพร่แนวคิดต่อต้านการฉีดวัคซีนผ่านงานเขียน โดยอ้างว่าวัคซีนคือสาเหตุของโรคออทิสติก ในคลิปวิดีโอความยาว 10 นาที ที่ถูก Facebook ตั้งสถานะให้เป็นข่าวปลอม ดร.เชอร์รี เทนเพนนี กล่าวอ้างว่าสตรีที่ได้รับวัคซีนโควิด 19 ชนิด mRNA ของบริษัท Pfizer ควรหลีกเลี่ยงการตั้งครรภ์ในช่วง 2 เดือนแรกเป็นอย่างน้อย เพราะหนามโปรตีนที่อยู่ในวัคซีนอาจจะไปรบกวนรังไข ซึ่งไม่อาจรู้ได้ว่าจะส่งผลต่อระบบสืบพันธุ์แค่ไหน หนามโปรตีนอาจรบกวนการทำงานของอสุจิและส่งผลกระทบมหาศาลต่อการปฏิสนธิและต่อไข่ของสตรี และยังไม่รู้ว่าปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลต่อพันธุกรรมหรือความพิการของทารกแรกเกิดหรือไม่ FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: ไม่มีหลักฐานว่าหน่ายงานด้านสาธารณสุขหรือผู้ผลิตวัคซีนรายใด แนะนำให้สตรีที่เข้ารับการฉีดวัคซีนโควิด 19 ระงับการตั้งครรภ์หรือหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน […]
สมาคม รพ.เอกชน เร่งหารือองค์การเภสัชฯ สมาคมประกันวินาศภัยฯ เตรียมนำเข้าวัคซีนทางเลือก เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อเศรษฐกิจไทย
หอการค้าไทย หารือรองนายกฯ ด้านเศรษฐกิจ ขอภาครัฐผ่อนผันกฎระเบียบเข้าถึงแหล่งเงินทุน เพื่อเร่งฟื้นฟูภาคธุรกิจให้เดินหน้าต่อไปได้ หลังได้รับผลกระทบจากโควิด
SENA Q1/64 กำไรแตะ 228.6 ลบ. โตสวนพิษโควิด ส่งซิกปรับพอร์ตเพิ่ม โฟกัสคอนโดต่ำล้าน