เกษตรสร้างชาติ : เลี้ยงปลาด้วยหญ้า สูตรอาหารประมงเชียงราย ลดรายจ่ายกำไรพุ่ง

สิ่งสำคัญสำหรับการทำการเกษตรให้ได้กำไร คือการลดต้นทุนการผลิตให้ได้มากที่สุด เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาที่เชียงรายตอนนี้หันไปใช้วิธีเลี้ยงปลาด้วยหญ้า เป็นสูตรอาหารใหม่ของประมงจังหวัด ช่วยลดค่าอาหารลงได้ถึง 3-4 เท่าตัว

ส่งเสริมเลี้ยง-บริโภคปลาสวาย เปลี่ยนชื่อเป็น “ปลาโอเมก้า 3”

ประมงจังหวัดสกลนครรับนโยบายผู้ว่าฯ ส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงและบริโภคปลาสวาย เพิ่มมูลค่าทางการการตลาดและเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ปลาโอเมก้า 3”

เกษตรสร้างชาติ : จากฟาร์มเห็ดสู่ผู้ผลิตหัวเชื้อส่งทั่วประเทศ

เกษตรสร้างชาติ พาไปดูฟาร์มเห็ดแห่งหนึ่งที่ จ.สระบุรี เจ้าของเป็นรุ่นลูกต่อยอดองค์ความรู้ในการผลิตหัวเชื้อเห็ดจากพ่อ เพื่อจำหน่ายแก่เกษตรกรผู้ปลูกเห็ดทั่วประเทศ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้าน สร้างรายได้ปีละหลายล้านบาท

เกษตรสร้างชาติ : เพิ่มศักยภาพการระบายน้ำลุ่มน้ำยม

สำนักชลประทานที่ 3 เร่งแก้ปัญหาสิ่งกีดขวางทางน้ำในลุ่มน้ำยม เพื่อป้องกันน้ำท่วมพื้นที่เกษตรในโครงการบางระกำโมเดล ซึ่งข้าวออกรวงแล้ว และอีกไม่นานจะเก็บเกี่ยวได้

เกษตรสร้างชาติ : แปลงใหญ่เผือกหอมบ้านหมอ จ.สระบุรี

ที่อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี มีเกษตรกรปลูกเผือกหอมมากที่สุดในประเทศพื้นที่หนึ่ง และเพิ่งจดทะเบียนเป็นแปลงใหญ่ได้ 2 เดือน กรมส่งเสริมการเกษตรจึงร่วมกับสมาชิกกำหนดแนวทางพัฒนาการผลิตให้ได้ผลผลิตต่อไร่มากขึ้น

เกษตรสร้างชาติ : เมล่อนเขียนลายฟอสซิล สร้างความแปลกใหม่ เพิ่มมูลค่า

หนุ่มใหญ่ชาวสตูล เริ่มต้นปลูกเมล่อนพันธุ์คิโมจิ เพียงเพราะต้องการกลับมาอยู่เป็นเพื่อนพ่อแม่ที่อายุมาก โดยเริ่มปลูกเมล่อนตั้งแต่ปี 2557 แต่ด้วยความเอาใจใส่ในการดูแล ทำให้เมล่อนที่ปลูกได้รสชาติหวาน กลิ่มหอม เนื้อนุ่มละเอียด

เกษตรสร้างชาติ : เปิดพื้นที่ให้คนเมืองฝึกดำนา

เจ้าหน้าที่ ส.ป.ก.ขอนแก่น กระทรวงเกษตรฯ รายหนึ่ง ใช้พื้นที่ของตัวเองทำเกษตรอินทรีย์เป็นแบบอย่างให้เกษตรกร ล่าสุดกำลังพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร หนึ่งในกิจกรรมที่น่าสนใจ คือ การเปิดพื้นที่ให้คนเมืองมาเช่าฝึกดำนา

เกษตรสร้างชาติ : สงขลาส่งเสริมฟื้นปลูกส้มจุกจะนะ

ส้มจุกเคยเป็นผลไม้ที่ขึ้นชื่อในพื้นที่ อ.จะนะ จ.สงขลา แต่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีพื้นที่ปลูกลดลงอย่างมาก แต่ด้วยรสชาติที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัว และการปลูกที่แทบจะไม่ใช้สารเคมี ทำให้จังหวัดสงขลากำลังมีฟื้นฟูให้เกษตรกรหันมาปลูกอีกครั้ง

1 429 430 431 432 433 471
...