เด็กวัยเรียนวัยรุ่น มีพฤติกรรมเนือยนิ่งสูงขึ้น

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เผยสถานการณ์ปี 2565 พบว่า เด็กวัยเรียนวัยรุ่นมีพฤติกรรมเนือยนิ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ร้อยละ 15.16 และพบว่ามีกิจกรรมทางกายเพียงพอ ร้อยละ 16.1 แนะพ่อแม่ชวนลูก
มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น เพื่อลดพฤติกรรมเนือยนิ่งในช่วงปิดเทอม

ผลวิจัยคนไทยนั่งนานกว่า 7 ชม./วัน แนะเพิ่มกิจกรรมทางกาย

กรมอนามัย และ IHPP ผลงานวิจัย พบคนไทย 3 ใน 4 มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ แต่นั่งนานกว่า 7 ชั่วโมง/วัน ส่งผลเสียต่อสุขภาพ แนะเพิ่มกิจกรรมทางกาย ด้วยการขยับร่างกาย หรือมีกิจกรรมนันทนาการในยามว่างแทน เพื่อลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง

โควิด-19 พบคนไทยพฤติกรรมเนือยนิ่งเพิ่ม

สธ.เผยช่วงการระบาดของโควิด-19ส่งผลคนไทยมีพฤติกรรมเนือยนิ่งเพิ่มขึ้น เตรียมเปิดโครงการก้าวท้าใจ season 2 ต้านภัยโควิด-19 จับมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมดำเนินการ

สธ.ห่วงคนไทยพฤติกรรมเนือยนิ่ง จัดกิจกรรมกระตุ้น

สธ.พบคนไทยพฤติกรรมเนือยนิ่งส่งผลน้ำหนักเกิน ที่สัมพันธ์ต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่คนไทยมีอัตราเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 71 จับมือภาคีส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

พฤติกรรมเนือยนิ่ง ภัยเงียบ

พฤติกรรมขยับร่างกายน้อย ใช้ชีวิตเชื่องช้าแบบสโลว์ อาจเข้าข่ายมีภาวะพฤติกรรมเนือยนิ่ง นั่งนอนติดหน้าจอ เสี่ยงป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (เอ็นซีดี) และอ้วนลงพุง

พบคนไทยมีพฤติกรรมเนือยนิ่ง 14 ชั่วโมง/วัน

แนะคนไทยแก้พฤติกรรมเนือยนิ่ง มีกิจกรรมทางกาย ปฐมวัย 0-5 ปี180 นาทีต่อวัน ,วัยเรียนวัยรุ่น 60นาทีต่อวัน วัยผู้ใหญ่-สูงอายุ150 นาที ลดใช้โทรศัพท์มือถือ-ดูทีวี

...