สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าฯ เสนอรัฐบาลใหม่ ผลักดันส่งออก
สมาคมยานยนต์ไฟฟ้า เสนอรัฐบาลใหม่อุ้มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนในประเทศ ผลักดันไทยศูนย์กลางส่งออก ยอมรับลดราคารุนแรง พร้อมโรมมิ่งรวมแอปชาร์จไฟฟ้า เร่งเติมความรู้อู่ซ่อมรถยนต์ไฟฟ้า
สมาคมยานยนต์ไฟฟ้า เสนอรัฐบาลใหม่อุ้มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนในประเทศ ผลักดันไทยศูนย์กลางส่งออก ยอมรับลดราคารุนแรง พร้อมโรมมิ่งรวมแอปชาร์จไฟฟ้า เร่งเติมความรู้อู่ซ่อมรถยนต์ไฟฟ้า
รัฐบาลอุ้มชิ้นส่วนยานยนต์ไทย ดึงไทย-ต่างชาติ ร่วมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่า 60% ของทุนจดทะเบียน ลงทุนไม่น้อยกว่า 100 ล้านบาท
กรุงเทพฯ 27 มี.ค.- AMATA เผยจีนยังเป็นอันดับ1 ของลูกค้าปีนี้ รองรับฐานอีวี ทั้งชิ้นส่วนยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ พร้อมผลักดัน บริษัทลูก อมตะ ยู กระจายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ฯ
กรุงเทพฯ 12 ธ.ค.-ส.อ.ท.โดย Cluster of FTI Future Mobility-ONE หรือ CFM-ONE เสนอภาครัฐรักษาและต่อยอดความเป็นฐานการผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนของโลก สร้างอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนสมัยใหม่เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) และยกระดับชิ้นส่วนยานยนต์ไทยเพื่อมุ่งการเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Parts Transformation)
โฆษกรัฐบาลเผย นายกฯ พร้อมส่งเสริมไทยเป็นผู้นำอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ระดับโลก ยินดีงาน “TAPA 2023” จัดขึ้นเมษายน 2566 นี้ เพิ่มโอกาสเจรจาการค้าให้ผู้ประกอบการไทยและนานาชาติ
DITP ผนึกกำลัง 4 สมาคมด้านชิ้นส่วนยานยนต์ จัดงาน TAPA 2021 รูปแบบใหม่ คาดจะไปได้สวยในยุคสู้โควิด-19
ผลจากความตกลงเอฟทีเอไทยกับประเทศต่างๆ ทำให้เกิดผลดีต่อการส่งออกรถยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ของไทยโดยเฉพาะตลาดออสเตรเลียและอาเซียน
รมช.อุตฯ ระบุผู้ประกอบการชิ้นส่วนยานยนต์จะต้องมีการปรับตัว เพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่ในอนาคต
กรุงเทพฯ 11 ธ.ค.-กระทรวงอุตสาหกรรม แนะผู้ประกอบการ เตรียมความพร้อมปรับตัวให้เติบโตหรืออยู่รอดให้ได้ เมื่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้ามาถึง นายพสุ โลหารชุน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยถึงการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยียานยนต์ในอนาคต ว่า ทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์โลกจะมุ่งสู่รถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ได้แก่ รถไฟฟ้าไฮบริด รถยนต์ไฟฟ้าไฮบริดปลั๊กอิน รถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ และรถยนต์ไฟฟ้าแบบเซลล์เชื้อเพลิง ในประเทศไทยมีการผลิตรถไฟฟ้าแล้ว 2 ประเภทคือ รถไฟฟ้าไฮบริดและรถยนต์ไฟฟ้าไฮบริดปลั๊กอิน ซึ่งภาครัฐได้กำหนดนโยบายและ มาตรการส่งเสริมการลงทุน รวมถึงการสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมดังกล่าว โดยได้เปิดกว้างรับทุกเทคโนโลยี เพราะผู้ผลิตแต่ละรายจะมีความเชี่ยวชาญในเทคโนโลยีที่แตกต่างกันไป โดยผู้ประกอบการไทยทั้งผู้ผลิตรถยนต์และผู้ผลิตชิ้นส่วน จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมที่จะปรับตัวให้เติบโตหรืออยู่รอดให้ได้ เมื่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้ามาถึง ซึ่งผู้ผลิตชิ้นส่วนจำเป็นต้องเร่งพัฒนาในทิศทางที่สอดคล้องกับผู้ผลิตรถยนต์ เพื่อก้าวไปพร้อมๆ กัน หากเปลี่ยนผ่านไม่ทันอาจสูญเสียความสามารถในการแข่งขัน และอาจส่งผลให้ธุรกิจค่อยๆ ล้มหายไป เหมือนอย่างกรณีที่เคยเกิดขึ้นแล้วกับอุตสาหกรรมผู้ผลิตจอภาพโทรทัศน์ของไทย ซึ่งเคยเป็นผู้นำในการผลิตทีวีจอแก้ว (CRT) แต่มีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี ไปเป็นจอแอลซีดี (LCD) แอลอีดี (LED) เต็มรูปแบบ และในปัจจุบันเป็นจอโอแอลอีดี (OLED) ดังนั้น หากชะล่าใจไม่ปรับตัว อาจทำให้สูญเสียตลาดให้กับคู่แข่งได้ กระทรวงฯ แนะนำให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนของไทย เข้ามาใช้บริการศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต (Industry transformation center […]
นายกสมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทยคาดชิ้นส่วนยานยนต์ไทยปีนี้ทรงตัว ปีหน้าฟันธงโตไม่ถึงร้อยละ 5 ตามที่กระทรวงพาณิชย์คาดหวัง
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเร่งยกระดับเอสเอ็มอีอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ พร้อมเผยกิจกรรมส่งเสริม 4 ด้าน