ข่าวแห่งปี 2567 : รวมฉ้อโกง “ดารา-คนดัง” ไม่รอด
ตลอดปี 2567 ยังมีผู้คนตกเป็นเหยื่อของกลโกง มิจฉาชีพ ที่มาในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการลงทุนรูปแบบใหม่ๆ บางคนถึงขั้นสิ้นเนื้อประดาตัว และที่น่าตกใจเริ่มมีคนดังเข้ามาเกี่ยวข้องกับคดีมากขึ้น
ตลอดปี 2567 ยังมีผู้คนตกเป็นเหยื่อของกลโกง มิจฉาชีพ ที่มาในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการลงทุนรูปแบบใหม่ๆ บางคนถึงขั้นสิ้นเนื้อประดาตัว และที่น่าตกใจเริ่มมีคนดังเข้ามาเกี่ยวข้องกับคดีมากขึ้น
ปักกิ่ง 26 มิ.ย.- จีนเปิดเผย 10 กลโกงทางโทรคมนาคมและโลกไซเบอร์ที่แพร่หลายมากที่สุดในประเทศ และพบว่าเหยื่อที่ถูกฉ้อโกงทางโทรคมนาคมและไซเบอร์ในปี 2566 มีอายุเฉลี่ยที่ 37 ปี สำนักข่าวซินหัวของทางการจีนรายงานอ้างกระทรวงความมั่นคงสาธารณะของจีนว่า กระทรวงฯ ได้ร่วมเปิดตัวโครงการรณรงค์สร้างความตระหนักรู้เรื่องการฉ้อโกงทั่วประเทศเมื่อ 1 เดือนก่อน และพบว่า เหยื่อที่ถูกฉ้อโกงทางโทรคมนาคมและไซเบอร์เมื่อปีก่อนมีอายุเฉลี่ย 37 ปี โดยเหยื่อร้อยละ 62.1 มีอายุ 18-40 ปี และเหยื่อร้อยละ 33.1 มีอายุ 41-65 ปี คดีฉ้อโกงทางโทรคมนาคมและไซเบอร์เกือบร้อยละ 88.4 ที่มีรายงานทั่วประเทศนั้น เกี่ยวข้องกับกลโกง 10 ประเภท อาทิ การหลอกให้ลงทุน การแอบอ้างเป็นหน่วยงานโลจิสติกส์อีคอมเมิร์ซ และบริการซ่อมแซมเครดิตปลอม ขบวนการบรัชชิง สแกม (Brushing scam) และคลิกฟาร์ม (Click farm) เป็นกลโกงอับดับต้น โดยมักล่อลวงนักเรียนนักศึกษาและกลุ่มคนที่มีรายได้ต่ำ ให้เชื่อว่าจะสามารถหาเงินได้ง่ายจากการทำงานออนไลน์ ก่อนจะชักจูงจนเรียกเก็บเงินจากเหยื่อได้ในภายหลัง เหยื่อรายหนึ่งของกลโกงนี้ในมณฑลเจียงซูทางตะวันออกของจีนสูญเสียเงินมากกว่า 420,000 หยวน (ราว […]
เลขาฯ กกต. ยันไม่หมดท่าจับกลโกงเลือก สว. ลั่นไม่เกรงกลัว ไม่เกรงใจใคร ระบุส่ง จนท. ตรวจตามโรงแรมที่ผู้สมัครรวมตัว และพักที่เดียวกัน เผยตัวเลขรอบสุดท้าย เหลือ 2,995 คน ขาดคุณสมบัติถูกลบชื่อไป 5 ราย
หลัง สส.ก้าวไกล ออกมาเปิดข้อมูลการทุจริตในสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจลำพูน ซึ่งพบทั้งสวมสิทธิและเพิ่มวงเงินกู้สมาชิกเกือบ 500 ราย วงเงินกว่า 200 ล้านบาท วันนี้ ทางกรรมการสหกรณ์ฯ ออกมาชี้แจง มีเจ้าหน้าที่ร่วมขบวนการทุจริตอย่างน้อย 3 คน โดยนำเงินไปใช้สนองความฟุ้งเฟ้อ แต่ยืนยันไม่มีตำรวจชั้นผู้ใหญ่เกี่ยวข้อง พร้อมเร่งหาแนวทางเยียวยาสมาชิกที่เดือดร้อน
20 กันยายน 2566 – ในช่วงเวลาที่ผ่านมามีใครหลายคนได้รับ SMS ชวนเชื่อจากมิจฉาชีพ บ้างอ้างว่ามาจากธนาคารให้กรอกข้อมูลตัวส่วนตัวต่าง ๆ จนกระทั่งถูกดูดเงิน ?! ร่วมเรียนรู้กลโกงของมิจฉาชีพที่แฝงตัวอยู่ในโลกไซเบอร์ และศึกษาหาทางสร้างภูมิคุ้มกันกับชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST ร้อยเรียงเรื่องฮิต ติดอันดับจากชัวร์ก่อนแชร์ อันดับที่ 5 : เตือนภัย SMS เงินกู้ ตรวจสอบข้อมูลกับ : นายภิญโญ ตรีเพชราภรณ์ ผู้อำนวยการฝ่ายกำกับตรวจสอบความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทย วิธีการของมิจฉาชีพกลุ่มนี้ จะหลอกให้กดลิงก์เข้าไป จากนั้นให้กรอกข้อมูลส่วนตัวแต่เมื่อกดลิงก์หรือกรอกข้อมูลไปแล้วกลายเป็นสมัครสินเชื่อเงินกู้ดอกเบี้ยแพงมหาโหดโดยทันที ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยของท่าน อย่าให้ข้อมูลส่วนตัว และไม่กดลิงก์จาก sms ต้องสงสัยที่ไม่ทราบที่มาโดยเด็ดขาด อันดับที่ 4 : อย่าตกใจได้อีเมลใบเสร็จที่ไม่ได้ซื้อ ตรวจสอบข้อมูลกับ : พ.ต.อ.นิเวศน์ อาภาวศิน รองผู้บังคับการสนับสนุนทางเทคโนโลยี สำนักงานตำรวจแห่งชาติ การส่งอีเมลมาหลอกให้เราตกใจว่าเราไปสมัครใช้บริการ หรือไปซื้อสินค้า เป็นใบเสร็จรับเงินมา เป็นเทคนิคที่คนร้ายใช้หลอกลวงกันเยอะมากในปัจจุบัน โดยมิจฉาชีพจะมีลิงก์มาให้ แล้วบอกว่าหากคุณไม่ได้ซื้อสินค้าตัวนี้จริง ให้คลิกที่ลิงก์ พอเราคลิกก็จะพาเราไปสู่เว็บ ดูหน้าตาเหมือนเว็บของจริงทุกอย่าง แต่หากสังเกตดีๆ จะพบความแตกต่างระหว่างเว็บจริงกับเว็บปลอม ซึ่งต่างกันตรงคำว่า “apple” […]
Tips โดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์, เสาวภาคย์ รัตนพงศ์ ช่วงนี้มีข่าวทำให้หลายคนต้องตกใจกันอีกแล้ว เพราะมีการแชร์ข้อมูลว่า ‘ ซื้อของออนไลน์ สแกน QR CODE จ่ายเงิน ถูกดูดเงินหมดบัญชี’ แล้วแบบนี้ผู้ใช้งานอย่างเราควรทำอย่างไร เพราะหันไปทางไหน ก็เจอให้สแกน QR CODE แทบทุกร้าน วันนี้ Cyber Tips เลยนำเทคนิคดี ๆ ในการใช้ QR CODE ให้ปลอดภัย ไม่ต้องปวดหัว คอยกังวลว่าเงินจะหายออกจากกระเป๋ามาฝากกัน แต่ก่อนอื่น เรามาทำความรู้จัก ‘QR CODE’ ให้มากขึ้นกันสักนิด QR CODE คืออะไร ? QR CODE ย่อมาจาก Quick Response Code เป็นรูปแบบของรหัสรูปภาพที่สามารถบรรจุข้อความลงไปได้ รวมไปถึงบรรจุลิงก์ URL เว็บไซต์ เพียงแค่ยกสมาร์ทโฟนขึ้นสแกน ก็สามารถเข้าสู่เว็บไซต์นั้น ได้อย่างง่ายดาย ซึ่งความง่ายดายนี้ […]
พาไปเจาะลึกกลโกง ขั้นตอนการเรียกรับเงินส่วนต่างค่าอาหารกลางวันเด็กของ ผอ.โรงเรียนดังย่านบางชัน ที่เพิ่งถูกจับกุมตัวได้เมื่อวานนี้ (1 ก.พ.) พร้อมเปิดใจผู้ประกอบการ ใจกล้า ทนไม่ไหว ออกมาแฉพฤติกรรม ผอ. ด้วยตัวเอง
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ รวบรวมกลโกงออนไลน์ 18 รูปแบบ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เตรียมส่งถึงบ้านประชาชนเป้าหมาย 1.5 ล้านครัวเรือน สร้างการรู้เท่าทันมิจฉาชีพ ป้องกันตกเป็นเหยื่อ
รอง ผบ.ตร.เตือนภัยอาชญากรรมทางออนไลน์ ช่วงหยุดยาวเข้าพรรษา 17 รูปแบบ หวั่นอาชญากรใช้เล่ห์เหลี่ยมกลโกงหลอกลวงประชาชนตกเป็นเหยื่อ
แฉพฤติการณ์คนร้ายอายุ 24 ปี ร่วมแฟนสาว หลอกซื้อรถหรูคันละ 1 บาท ทำสลิปโอนเงินปลอม จนได้รถ 16 คัน พบประวัติมีหมายจับศาลจังหวัดพัทยาติดตัว ตำรวจเร่งตามตัวมาดำเนินคดี เผยรถยี่ห้อนี้กำลังเป็นที่สนใจของประเทศเพื่อนบ้าน
กรุงเทพฯ 26 ต.ค. – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์กิจกรรมชิงรางวัลใหญ่ เช่น มือถือรุ่นใหม่ คูปองชอปปิ้ง บัตรกำนัล และอีกสารพัดรางวัล แต่แท้จริงแล้วเป็นอุบายหลอกลวงที่อาจทำให้เหยื่อเสียทรัพย์และเสียข้อมูลส่วนตัวได้ วันนี้เราจะรู้ทันภัยไซเบอร์ไปด้วยกัน กับศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์. – สำนักข่าวไทย
แม่ค้าผัดไทยแฉกลโกงพนักงานโรงรับจำนำแห่งหนึ่งย่านสะพานใหม่ โกงเงิน 2,000 บาท หลังนำเงิน 45,000 บาท พร้อมดอก 563 บาท ไปไถ่ทองคืน พบพิรุธจากกล้องวงจรปิด ยืนยันจะดำเนินคดีให้ถึงที่สุด