ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : มะเร็งเต้านมในผู้ชาย

20 มิถุนายน 2567 มะเร็งเต้านมเกิดในผู้ชายได้อย่างไร สามารถตรวจคัดกรองได้ก่อนหรือไม่ และจะมีวิธีการสังเกตอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ. นพ.ประกาศิต จิรัปปภา อาจารย์ประจำสาขาศัลยศาสตร์เต้านมและต่อมไร้ท่อ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ : 8 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ประคบเย็น

14 มิถุนายน 2567 ประคบเย็น เป็นอย่างไร มีกลไกต่อร่างกายอย่างไรบ้าง และควรเลือกใช้ในกรณีไหน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.กภ. วรรธนะ ชลายนเดชะ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์กายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา สัมภาษณ์เมื่อ : 21 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : การรักษามะเร็งเต้านม

13 มิถุนายน 2567 – มะเร็งเต้านม ตรวจพบระยะต้นได้ด้วยการคัดกรอง หากตรวจพบแล้วจะมีแนวทางการรักษาอย่างไร แล้วมีโอกาสหายอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ. นพ.ประกาศิต จิรัปปภา อาจารย์ประจำสาขาศัลยศาสตร์เต้านมและต่อมไร้ท่อ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ : 8 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : 8 สัญญาณเตือนมะเร็งเต้านม จริงหรือ ?

9 มิถุนายน 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์ 8 สัญญาณเตือนมะเร็งเต้านม มีตั้งแต่คลำพบก้อนบริเวณเต้านมและรักแร้ มีแผลเรื้อรังบริเวณเต้านม ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ. นพ.ประกาศิต จิรัปปภา อาจารย์ประจำสาขาศัลยศาสตร์เต้านมและต่อมไร้ท่อ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ : 8 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : สาเหตุการเกิดมะเร็งเต้านม

30 พฤษภาคม 2567 มะเร็งเต้านมเกิดจากสาเหตุใด อันตรายแค่ไหน และจะมีวิธีป้องกันมะเร็งเต้านมได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ. นพ.ประกาศิต จิรัปปภา อาจารย์ประจำสาขาศัลยศาสตร์เต้านมและต่อมไร้ท่อ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ : 8 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ตาบอดกลางคืน

23 พฤษภาคม 2567 – ตาบอดกลางคืนเกิดจากสาเหตุใด เป็นอันตรายหรือไม่ และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 30 เมษายน 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย :  พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ตาเขม่น หรือตากระตุก

17 พฤษภาคม 2567 – ตาเขม่นคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 30 เมษายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : เด็กขยิบตา หรือ กะพริบตาบ่อย

12 พฤษภาคม 2567 – เด็กขยิบตา หรือกะพริบตาบ่อย ๆ เกิดจากสาเหตุใด เป็นอันตรายหรือไม่ และผู้ปกครองควรทำอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 30 เมษายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ภาวะตาสั่น

9 พฤษภาคม 2567 – ภาวะตาสั่นคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 30 เมษายน 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : รู้จักและเข้าใจ มะเร็งปากมดลูก

2 พฤษภาคม 2567 – มะเร็งปากมดลูกคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด และจะมีวิธีการป้องกันอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.พญ.สฤกพรรณ วิไลลักษณ์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก หรือ วัคซีน HPV

28 เมษายน 2567 วัคซีนมะเร็งปากมดลูกมีกี่ชนิด เหมาะกับใคร และควรฉีดตั้งแต่อายุเท่าไหร่ ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.พญ.สฤกพรรณ วิไลลักษณ์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สัมภาษณ์เมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : หนังตาม้วนเข้า – ม้วนออก

25 เมษายน 2567 หนังตาม้วนเข้าและหนังตาม้วนออก คืออะไร เกิดได้จากสาเหตุใด อันตรายหรือไม่ และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย อาการหนังตาม้วนเข้า หนังตาม้วนออก ภาวะหนังตาม้วนเข้าหรือหนังตาม้วนออก อาจทำให้มีปัญหากับกระจกตาดำ ทำให้ขอบของเปลือกตา ขนตา และหนังตาหมุนเจ้าไปเสียดสีกับลูกตาทำให้เกิดอาการระคายเคืองตาแดง น้ำตาไหล มีขี้ตา หรือในกรณีที่เป็นมาก อาจมีอาการกระจกตาอักเสบได้ สาเหตุที่ทำให้หนังตาม้วนเข้า 1.มีภาวะเป็นแต่กำเนิด ส่วนใหญ่พบในเด็กที่มีน้ำหนักตัวเยอะ ทำให้เกิดภาวะขนตาล่างม้วนในเด็ก มีสาเหตุจากเปลือกตาม้วนเข้าจากผิวเปลือกตาส่วนเกิด ดันให้ขนตาล่างม้วนเข้าด้านในสัมผัสกับกระจกตา เด็กที่มีภาวะนี้จะตาแดง เคืองตาบ่อย มีขี้ตาเยอะ 2.การทำงานเปลือกตามีภาวะผิดปกติ หรือการได้รับอุบัติเหตุ โครงหน้าเปลี่ยน ทำให้เปลือกตาไม่อยู่ในตำแหน่งตามธรรมชาติ อาจจะต้องรักษาด้วยการผ่าตัด 3.อายุมากขึ้น เมื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะหนังตาหย่อนเอ็นยึดเปลือกตาหย่อนคล้อย กล้ามเนื้อดึงขนตาทำงานได้ไม่ดีเท่าเดิม จะเกิดภาวะหนังตาม้วนเข้า ทำให้ขนตาเสียดสีกับกระจกตา ทำให้ให้รู้สึกระคายเคืองดวงตา การรักษา 1.หากมีอาการเพียงเล็กน้อย การรักษาคือหยอดน้ำตาเทียมหล่อลื่นลูกตา ลดการเสียดสี  2.ในกรณีที่ใช้น้ำตาเทียมแล้วอาการไม่ดีขึ้น มีอาการระคายเคืองตาตลอดเวลา ควรรีบปรึกษาจักษุแพทย์ สัมภาษณ์เมื่อ […]

1 2 3 4 9
...