กรมการแพทย์แผนไทยฯ แนะ 3 สมุนไพรลดไขมัน

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แนะนำ 3 สมุนไพรลดไขมัน ได้แก่ กระเทียม ดอกคำฝอย และกระเจี๊ยบแดง พร้อมเคล็ดลับการออกกำลังกายวิถีไทยด้วยท่าฤๅษีดัดตน ช่วยเสริมสร้างหัวใจให้แข็งแรง ลดความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด เนื่องในวันหัวใจโลก

ทีมนักวิจัยจีนพบกลไกเบื้องหลัง “แบคทีเรียก่อโรคอ้วน”

ปักกิ่ง 31 ก.ค.- ผลการศึกษาของคณะนักวิจัยชาวจีนพบว่า สาเหตุที่บางคนกินจุแต่ยังดูผอมเพรียว ส่วนบางคนมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นง่ายและมีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนโดยธรรมชาติ อาจมาจากแบคทีเรียเมกะโมนาส (Megamonas) ซึ่งเป็นวงศ์แบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคอ้วน สำนักข่าวซินหัวของทางการจีนรายงานอ้างหนังสือพิมพ์ไชน่าไซแอนซ์แอนด์เทคโนโลยีเดลีว่า ทีมนักวิจัยจากโรงพยาบาลรุ่ยจินในเครือคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทง สถาบันวิจัยจีโนมิกส์ (BGI) และสถาบันวิจัยการแพทย์อัจฉริยะสังกัดสถาบันบีจีไอ ได้ศึกษาสารพันธุกรรมทั้งหมดในตัวอย่างอุจจาระของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรคอ้วน 631 คน และกลุ่มควบคุมที่มีน้ำหนักปกติ 374 คน พบแบคทีเรียเมกะโมนาสเป็นส่วนใหญ่ในตัวอย่างจากบุคคลที่เป็นโรคอ้วน เพื่อเปิดเผยกลไกเบื้องหลังของแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคอ้วน ทีมวิจัยได้ทำการทดลองเพิ่มเติมโดยใช้ต้นแบบหลายชนิด เช่น หนูทดลองปลอดเชื้อจําเพาะ (SPF) หนูปลอดเชื้อโรค (GF) และออร์แกนอยด์ของลำไส้เล็ก โดยใช้ M. rupellensis ซึ่งเป็นตัวแทนสายพันธุ์ของแบคทีเรียเมกะโมนาส มาใช้เป็นอาหารทดลอง ปรากฏว่า M. rupellensis ไม่ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญต่อน้ำหนักตัวของหนูทดลองปลอดเชื้อจําเพาะที่ได้รับอาหารปกติ แต่กระตุ้นให้หนูทดลองชนิดเดียวกันที่ได้รับอาหารไขมันสูง มีน้ำหนักและสะสมไขมันเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนหนูปลอดเชื้อโรคที่ได้รับอาหารไขมันสูง M. rupellensis เพิ่มน้ำหนักตัวของหนูอย่างมีนัยสำคัญ และส่งเสริมการขนส่งกรดไขมันในลำไส้และการดูดซึมไขมันอย่างชัดเจน ทีมนักวิจัยได้พิสูจน์ศักยภาพของ M. rupellensis ในการย่อยสลายอิโนซิทอล (Inositol) ซึ่งเป็นสารที่สามารถยับยั้งประสิทธิภาพในการขนส่งกรดไขมัน โดยทดลองทั้งในหลอดทดลองและในร่างกาย และคาดว่า การที่ M. […]

ชัวร์ก่อนแชร์ : พิษของไขมันกับ 5 อวัยวะในร่างกาย จริงหรือ?

สังคมออนไลน์แชร์พิษของไขมันเมื่อไปเกาะตามอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย เช่น หากเกาะในหลอดเลือดจะเสี่ยงอัลไซเมอร์ หรือหากไปเกาะที่ม้ามจะทำให้อ้วน เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : ห้ามกินแป้ง-น้ำตาลร่วมกับไขมัน จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์คำเตือนว่าห้ามรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของแป้งขาว หรือน้ำตาล ร่วมกับไขมัน โดยเฉพาะน้ำมันพืช เพราะจะทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพได้ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : คลิปเตือนกาแฟผสมดินประสิว จริงหรือ?

บนโซเชียลแชร์คลิปการทดลองฉีกซองกาแฟ 3-in-1 เทผ่านเปลวไฟ แล้วเกิดเป็นประกายปะทุ จนน่าสงสัยว่า นี่กาแฟ หรือ ดินประสิว เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : คำเตือน “1 ชั่วโมงหลังจากดื่มน้ำอัดลม” จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์คำเตือน 1 ชั่วโมง หลังจากดื่มน้ำอัดลม จะเกิดอะไรขึ้นบ้าง ซึ่งมีทั้งการรับน้ำตาล 10 ช้อนโต๊ะใน 10 นาทีแรก ไปจนถึงการสูญเสียแคลเซียม เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : มันหมู ไม่ได้อันตรายอย่างที่คิด จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์ว่า มันหมูไม่ได้อันตรายอย่างที่คิด มีคอเลสเตอรอลน้อยกว่าไข่ไก่ 10 เท่า อุดมวิตามินบีและวิตามินดี ช่วยลดภาวะซึมเศร้าได้ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : สูตรไข่ต้มลดน้ำหนัก 10 กิโลกรัม ใน 14 วัน จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์สูตรอาหารเพื่อการลดน้ำหนักด้วยไข่ต้ม เพียง 14 วัน สามารถลดได้ถึง 10 กิโลกรัม เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : ดื่มนม LOW FAT เสี่ยงเป็นโรคพาร์กินสันจริงหรือ ?

บนสังคมออนไลน์มีการแชร์เตือนว่า การดื่มนมประเภทไขมันต่ำ หรือ LOW FAT เสี่ยงทำให้เป็นโรคพาร์กินสันได้ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : ไม่กินอาหารเช้าเสี่ยงเป็นนิ่วในถุงน้ำดี จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์เตือนว่า การไม่กินอาหารเช้า ระวังจะเสี่ยงเป็นนิ่วในถุงน้ำดี เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามกับศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : 5 คุณประโยชน์ของน้ำมันหมูจริงหรือ ?

บนสังคมออนไลน์แชร์ 5 คุณประโยชน์ของน้ำมันหมูที่คุณอาจยังไม่รู้ เช่น มีกรดไขมันที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายเทียบเท่านมแม่ อุดมด้วยวิตามินดี เรื่องนี้จริงหรือไม่ ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : คลิปเตือนไตรกลีเซอไรด์คือไขมันตัวร้าย จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์คลิปการอธิบายเกี่ยวกับไขมันในร่างกาย พร้อมเตือนให้ระวังการกินน้ำมันจากพืช เพราะเป็นการนำไตรกลีเซอไรด์เข้าไปในร่างกาย และก่ออันตรายได้ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามกับจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

1 2
...