บล.ไทยพาณิชย์ มองเป้า SET Index ปีนี้ที่ 1,600 จุด แนะลงทุนเน้นหุ้นเชิงรับ

บล.ไทยพาณิชย์ มองเป้า SET Index ปีนี้ที่ 1,600 จุด แนะโฟกัสการลงทุนเน้นหุ้นเชิงรับและหุ้นขนาดเล็กที่มีปัจจัยพื้นฐานเฉพาะตัว มี valuation สมเหตุสมผล

พาณิชย์ยืนหยัดต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันทุกรูปแบบ

อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้าประกาศยืนหยัดต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันทุกรูปแบบ พร้อมจัดทำคลิปไวรัลกระตุ้นต่อมจริยธรรมให้ฟูฟ่อง สอดรับคำขวัญ ยึดมั่นภารกิจ สุจริตต่อหน้าที่ รวมพลัง DBD ต่อต้านคอร์รัปชัน

ตลท.เตือนนักลงทุนระวังลงทุนหุ้น MVP เหตุราคาพุ่งแรง

ตลท.เตือนนักลงทุนระวังลงทุนหุ้น MVP เหตุ ราคาหุ้นพุ่งแรง แม้ อยู่ในมาตรการกำกับการซื้อขายระดับ 3 (ห้าม Net settlement, ห้ามคำนวณวงเงินซื้อขาย และ Cash Balance)

ชัวร์ก่อนแชร์: แพทย์ไทย-เยอรมัน เตือนวัคซีนโควิดไม่ได้ผล-เป็นอันตราย จริงหรือ?

6 กรกฎาคม 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Facta (อิตาลี)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: เป็นบทสัมภาษณ์ของ สุจริต ภักดี แพทย์ชาวเยอรมันเชื้อสายไทย ที่อ้างว่าวัคซีนโควิด 19 ป้องกันการติดเชื้อไม่ได้และเป็นอันตราย สวนทางกับข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ที่ยืนยันว่าวัคซีนด้วยป้องกันการป่วยและเสียชีวิตจากโควิด 19 ได้จริง ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีการนำข้อมูลเท็จเกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19 ไปเผยแพร่บนสื่อออนไลน์ทั้งในหลายประเทศ โดยเป็นความเห็นของ สุจริต ภักดี นักจุลชีววิทยาชาวเยอรมันเชื้อสายไทย ระหว่างให้สัมภาษณ์กับเว็บไซต์ New American สื่อแนวคิดอนุรักษ์นิยมของสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 15 เมษายน 2021 จากการสำรวจของเว็บไซต์ CrowdTangle พบว่าจนถึงวันที่ 4 พฤษภาคม มีผู้รับชมการสัมภาษณ์รวมกันกว่าล้านครั้ง และมียอดแชร์ไปแล้วกว่า 53,000 ครั้ง FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: อย่างไรก็ดี คำกล่าวอ้างของ สุจริต ภักดี เกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19 […]

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด 19 ทำให้เป็นเริมที่อวัยวะเพศ จริงหรือ?

5 กรกฎาคม 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Science Feedback (สหรัฐอเมริกา)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: เป็นความเข้าใจผิดว่าไวรัสที่ทำให้เกิดโรคงูสวัดทำให้เกิดเริมที่อวัยวะเพศ โรคอีสุกอีใส, โรคงูสวัด หรือเริมที่อวัยวะเพศ ล้วนไม่ใช่อาการข้างเคียงจากวัคซีนโควิด 19 ทั้งสิ้น ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีข้อมูลเท็จที่เผยแพร่บนสื่อสังคมออนไลน์ในสหรัฐอเมริกาที่อ้างว่า วัคซีนโควิด 19 ทำให้เป็นเริมที่อวัยวะเพศ และสามารถติดต่อผ่านทางเพศสัมพันธ์ FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: โดยผู้โพสต์อ้างบทความของหนังสือพิมพ์ New York Post เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2021 ที่อ้างว่า โรคงูสวัดอาจเป็นอาการข้างเคียงจากวัคซีนโควิด 19 นอกจากจะไม่เป็นความจริงแล้ว ในบทความยังสร้างความเข้าใจผิดแก่ผู้อ่านให้เชื่อว่า ไวรัสวาริเซลลา ซอสเตอร์ (Varicella Zoster Virus) ที่ทำให้เกิดโรคอีสุกอีใสและโรคงูสวัด เป็นไวรัสที่ก่อให้เกิดเริมที่อวัยวะเพศด้วย ซึ่งแท้จริงแล้วเริมที่อวัยวะเพศเกิดมาจากการติดเชื้อไวรัสเริม (HSV) แม้ ไวรัสวาริเซลลา ซอสเตอร์ และ […]

สมอ. บุกจับโรงงานเมลามีนไม่ได้รับอนุญาต กว่า 7 ล้านบาท

สมอ. บุกจับโรงงานเมลามีนไม่ได้รับอนุญาต กว่า 7 ล้านบาท

สมอ. ลงพื้นที่สมุทรสาคร และสมุทรปราการ บุกจับโรงงานผลิตและนำเข้าภาชนะเมลามีนโดยไม่ได้รับอนุญาต 5 แห่ง กว่า 3 แสนชิ้น มูลค่ากว่า 7 ล้านบาท ทลายแหล่งต้นตอการผลิตและแหล่งกระจายสินค้าก่อนส่งจำหน่าย เตือนผู้บริโภคก่อนซื้อให้ดูเครื่องหมาย มอก.

ตลาดอ.ต.ก. เปิดจำหน่ายตามปกติแล้ววันนี้

ตลาดอ.ต.ก. เปิดจำหน่ายตามปกติแล้ววันนี้

ตลาดสด อ.ต.ก. เปิดตลาดจำหน่ายสินค้าแล้ววันนี้หลังปิดเพื่อควบคุมการระบาดของโรคโควิดระหว่าง 2-4 ก.ค .ที่ผ่านมา พร้อมเดินหน้ามาตรการป้องกันอย่างเข้มงวด

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด 19 ทำให้เป็นโรคงูสวัด จริงหรือ?

5 กรกฎาคม 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Science Feedback (สหรัฐอเมริกา)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ทำให้เข้าใจผิด บทสรุป: ผู้ที่จะเป็นโรคงูสวัด ต้องเคยป่วยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อนเท่านั้น โดยมีสาเหตุจากภูมิคุ้มกันอ่อนแอ งานวิจัยไม่อาจยืนยันได้ว่าวัคซีนโควิด 19 มีส่วนกระตุ้นไวรัสที่ทำให้เกิดโรคงูสวัดหรือไม่ ข้อมูลที่ถูกแชร์: ข้อมูลจากเว็บไซต์หนังสือพิมพ์ New York Post เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2021 อ้างว่าโรคงูสวัดอาจเป็นอาการข้างเคียงจากวัคซีนโควิด 19 จนกลายเป็นไวรัลที่มียอดแชร์, ยอดไลค์ และคอมเมนต์ ผ่านทาง Facebook และ Instagram รวมกันหลายแสนครั้ง ตามรายงานจากเว็บไซต์ Crowdtangle FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: บทความของ New York Post อ้างงานวิจัยของฟิวเรอร์และคณะที่ตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์ Rheumatology จุดประสงค์ของงานวิจัยเพื่อรวบรวมข้อมูลด้านความปลอดภัยของวัคซีนโควิด 19 ต่อผู้ป่วยที่เป็นโรครูมาติกจากภูมิคุ้มกันตนเอง (autoimmune inflammatory rheumatic […]

ชัวร์ก่อนแชร์: คนงานไทยในไต้หวันติดเชื้อโควิด 19 เพราะกินน้ำแข็ง จริงหรือ?

4 กรกฎาคม 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Taiwan FactCheck Center (ไต้หวัน)แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ ประเภทข่าวปลอม: ข้อมูลเท็จ บทสรุป: หน่วยงาน CECC ของไต้หวันยืนยันว่าไม่พบแรงงานชาวไทยติดเชื้อโควิด 19 จากการกินน้ำแข็งในไต้หวัน ประธานสมาคมโรคติดเชื้อไต้หวันย้ำว่าการกินน้ำแข็งไม่ได้เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด 19 ข้อมูลที่ถูกแชร์: มีข้อมูลเท็จเผยแพร่บนสื่อสังคมออนไลน์ในไต้หวันเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2021 โดยผู้โพสต์อ้างว่าตนติดโควิด 19 จากคนงานไทย 3 คน โดยคนงานทั้ง 3 มีนิสัยชอบดื่มน้ำเย็นและกินน้ำแข็งเพื่อคลายร้อนทุกๆ วัน จนตอนนี้ทั้ง 3 คนยังรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล สาเหตุเป็นเพราะน้ำแข็งทำให้หลอดลมมีปัญหาและเสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด 19 โดยผู้โพสต์เตือนให้ผู้คนระวังการกินน้ำแข็ง และหันมากินน้ำร้อนเพื่อป้องกันการติดเชื้อโควิด 19 FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง: Taiwan FactCheck Center ได้สอบถามไปยัง ศูนย์บัญชาการกลางโรคระบาดของไต้หวัน (CECC) เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม […]

1 215 216 217 218 219 498
...