ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : 6 ข้อครหาของรถยนต์ไฟฟ้า จริงหรือ ?

16 มกราคม 2567 – ตามที่มีการแชร์ข้อความเกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าในเรื่อง 6 ข้อครหาของรถยนต์ไฟฟ้า เช่น ค่าซ่อมแพงมหาโหด และถ้าจะอัพเดตซอฟแวร์ต้องจ่ายเพิ่มนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ แชร์ว่า รถไฟฟ้าถ้าไม่รวยอย่าซื้อ อย่าไหลตามกระแสแชร์ว่า ค่าซ่อมรถไฟฟ้า แพงกว่ารถยนต์สันดาปแชร์ว่า ราคาขายต่อตกลงอย่างมากแชร์ว่า การซ่อมรถไฟฟ้า ยากกว่ารถยนต์สันดาป เพราะต้องเปลี่ยนอะไหล่แบบยกชิ้นแชร์ว่า การอัพเดทซอฟแวร์ต้องเสียค่าใช้จ่าย และเมื่อถึงจุดหนึ่งจะอัพเดทไม่ได้แชร์ว่า เมื่อใช้รถไฟฟ้า ไปนาน ๆ ค่าซ่อมแพง ขายต่อมือสองไม่ได้ ตรวจสอบกับสัมภาษณ์เมื่อ : 18 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : รสเผ็ด ในตำราแพทย์

15 มกราคม 2567 – จริง ๆ แล้ว รสเผ็ด เป็นประโยชน์หรือโทษ อาหารรสเผ็ด กินอย่างไร ให้เป็นยา แล้วถ้าจะ แก้เผ็ด ต้องกินอะไร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ภญ.ดร.ผกากรอง ขวัญข้าว หัวหน้าศูนย์หลักฐานเชิงประจักษ์ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร อาจารย์นายแพทย์อาลันณ์ จันท์จารุณี อาจารย์ประจำสาขาทางเดินอาหารและตับ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 5 มกราคม 2567สัมภาษณ์เมื่อ : 12 มกราคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ EXPERT TIPS : ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภา

12 มกราคม 2567 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภา บุคคลท่านนี้คือ หนึ่งในผู้ที่ถูกแอบอ้างชื่อ ในหลากหลายรูปแบบของ ข่าวปลอม ข้อมูลเท็จ โฆษณาหลอกลวง และคลิปเสียง ข่าวไหนจริง ข่าวไหนเท็จ แล้วประชาชนจะรู้ได้อย่างไรว่าเรื่องไหน จริงหรือปลอม ? ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภา ที่ปรึกษา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สัมภาษณ์เมื่อ : 25 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : CRYPTO SCAM ? — อาชญากรรมคริปโต หลอกทุกดอก แล้วบอกให้ลงทุน

13 มกราคม 2567  สิ่งนี้… ถือเป็นภัยร้ายที่สะเทือนวงการนักลงทุนคริปโต และสิ่งนี้… เคยก่ออาชญากรรมเชิดเงินของนักลงทุนไปได้ถึง 185 ล้านดอลลาร์ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 28 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : เข้าใจสาเหตุภาวะตามัว

14 มกราคม 2567 ภาวะตามัวมีกี่แบบ อันตรายหรือไม่ และเกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

 ชัวร์ก่อนแชร์ FactINFOcus : ไมโครเวฟ มีรังสีตกค้าง ทำให้เป็นมะเร็ง จริงหรือ ?

ตามที่มีข้อความเตือน การกินอาหารที่อุ่นด้วยไมโครเวฟอันตราย​ เพราะมีรังสีตกค้างและทำให้เป็นมะเร็งนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต รวมเรื่องเข้าใจผิดเกี่ยวกับการใส่แว่นตา จริงหรือ ?

10 มกราคม 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์เกี่ยวกับแว่นตาเอาไว้มากมาย บ้างก็ว่าใส่ ๆ ถอด ๆ แว่น สายตาจะยิ่งสั้น และการตัดแว่นไม่ตรงค่าสายตา เสี่ยงมีปัญหา จะทำให้ตาบอด ?! ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย  ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปัญหาเรื่องตาในผู้สูงอายุ

11 มกราคม 2566 – ปัญหาโรคตายอดฮิตในผู้สูงวัยมีอะไรบ้าง และจะสังเกต ป้องกันและเฝ้าระวังได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : วิธีตรวจเช็กอาการฝาสูบโก่ง จริงหรือ ?

10 มกราคม 2567 – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์วิธีการตรวจเช็กเมื่อรถเกิดอาการฝาสูบโก่ง เช่น น้ำในหม้อพักน้ำมีคราบน้ำมันเครื่องปนนั้น บทสรุป : จริง แชร์ได้ ✅ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 18 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : การกินใบมะละกอ

8 มกราคม  2567 – ใบมะละกอ กินได้หรือไม่ กินอย่างไรให้ปลอดภัย แล้วใช้รักษาโรคอะไรได้บ้าง ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ภญ.ดร.ผกากรอง ขวัญข้าว หัวหน้าศูนย์หลักฐานเชิงประจักษ์ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร สัมภาษณ์เมื่อ : 5 มกราคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปัญหาโรคตาในคนวัยทำงาน

5 มกราคม 2567 – ปัญหาโรคตาในคนวัยทำงานมีอะไรบ้าง และเราจะป้องกันหรือรักษาได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FactINFOcus :

บนสังคมออนไลน์แชร์คลิปเตือน ระวังเครื่องดื่มผสมวุ้นมะพร้าวเทตากแดดไว้คืนเดียว แห้งเป็นแผ่น เหมือนกระดาษหรือพลาสติก บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.ธัญญ์นลิน วิญญประสิทธิ์ อาจารย์ประจำ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล และคุณสมชาย สิขันธกบุตร ผู้อำนวยการโรงงาน บริษัท ทวีผลผลิตภัณฑ์ จำกัด 👉 วุ้นมะพร้าวมีโครงสร้างพื้นฐานเป็นเส้นใยสีขาวที่ทำมาจากเซลลูโลสที่เกิดจากการหมัก สามารถรับประทานได้ โดยตัววุ้นมีน้ำมะพร้าวเป็นส่วนประกอบหลัก หากนำไปตากแดด เข้าตู้อบหรือบี้จนแบน จะทำให้น้ำหายไปจนมีสภาพเป็นเยือแบน ๆสีขาวคล้ายกระดาษได้ ซึ่งเป็นสภาพปกติโดยธรรมชาติ

1 14 15 16 17 18 46