ภูมิต้านภัย : หลอกลวงรูปแบบใหม่ใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือ

รายงานพิเศษภูมิต้านภัยวันนี้ เป็นการชักชวนลงทุนในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ รูปแบบขายตรงอาหารเสริม เสนอขายเป็นแพ็กเกจ และใช้ผลประโยชน์ทางศาสนาและผู้นำทางจิตวิญญาณมาร่วมชักจูง จนมีผู้หลงเชื่อสูญเสียเงินจำนวนมาก

ชัวร์ก่อนแชร์ : ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กำจัดสารพิษ ชำระล้างปรสิต จริงหรือ ?

8 ธันวาคม 2567 – ตามที่มีการแชร์ข้อความแนะนำผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร โดยบอกว่า เป็นตัวช่วยกำจัดสารพิษตกค้าง และชำระล้างสิ่งสกปรก จำพวกพยาธิ ปรสิต ตัวอ่อน สารโลหะหนัก เมือกที่เกาะอยู่ตามผนังลำไส้ได้ บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ภก.ดร.บดินทร์ ติวสุวรรณ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้างว่าสามารถกำจัดสารพิษ ชำระล้างปรสิตได้ จริงหรือ ? รศ.ภก.ดร.บดินทร์ อธิบายว่า ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารก็คืออาหารชนิดหนึ่ง ไม่มียาหรือสารใด ๆ ที่สามารถรักษาหรือป้องกันโรคได้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารไม่ได้มีสารใดๆ ที่สามารถกำจัดสารพิษ ชำระล้างปรสิตได้ จริงหรือ ? ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหลายชนิดที่อ้างว่าสามารถกำจัดสารพิษ ชำระล้างปรสิตได้นั้น ส่วนใหญ่แล้วไม่ได้มีสารใด ๆ ที่สามารถทำเช่นนั้นได้จริง และส่วนประกอบที่ระบุบนฉลากก็ไม่ได้รับประกันว่าจะมีปริมาณเท่าที่ระบุไว้เสมอไป ระวังการรับประทานเกรปฟรุต เพราะอาจจะตีกับยาบางชนิดได้ จริงหรือ ? แพทย์เน้นย้ำและเตือนให้ระวังการรับประทานเกรปฟรุต เพราะอาจจะตีกับยาบางชนิดได้ ดังนั้น อย่าหลงเชื่อคำโฆษณาที่อ้างว่าผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสามารถรักษาหรือป้องกันโรคได้ สรุป ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารไม่สามารถกำจัดสารพิษ […]

เชนธนา

“เชน ธนา” ย้ำไม่ได้โกงคู่กรณี พร้อมพาสื่อชมสินค้ายังอยู่ครบ

“เชน ธนา” ย้ำไม่ได้โกงคู่กรณี แต่อยู่ระหว่างรอคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ พร้อมพาสื่อชมสินค้ายังอยู่ครบ ไม่ได้แอบขายเอาเงินไปใช้ตามข่าว

“จิราพร” เผย 1 สัปดาห์ ตร.ขยายผล The iCon Group

“จิราพร” รมต.ประจำสำนักนายกฯ เผย 1 สัปดาห์ ตร.ขยายผล The iCon Group ประสาน ปปง. เฝ้าระวังถ่ายโอนทรัพย์ ลั่นใครผิดไม่เว้น ด้าน สคบ.เชิญ “ดารา-อินฟลูฯ” สอบ 16 ต.ค.นี้ ชี้ให้แจงกับตำรวจ ไม่ใช่ผ่านสื่อ

“ทนายเจมส์” หอบสินค้าอาหารเสริมเจ้าปัญหาให้ อย.ตรวจเปรียบเทียบ

“ทนายเจมส์” หอบสินค้าอาหารเสริมให้ อย.ตรวจเปรียบเทียบทั้งของแท้และของปลอม มั่นใจการตรวจรอบก่อนคือของปลอม 100%

“จิราพร” สั่งระงับขายอาหารเสริมแบรนด์ดังบนแพลตฟอร์มออนไลน์

“จิราพร” รัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯ เอาจริง สั่งระงับการขายอาหารเสริมแบรนด์ดังบนแพลตฟอร์มออนไลน์ หลังตรวจพบสารเสพติด “ไซบูทรามีน”

ชัวร์ก่อนแชร์ : สมุนไพร-อาหารเสริม รักษาโรคซึมเศร้า จริงหรือ ?

30 ตุลาคม 2566 – ตามที่มีการแชร์คำแนะนำว่ามีสมุนไพรสามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ เช่น ขมิ้นชัน ใบบัวบก คาโมมาย กระท่อม กัญชา เห็ดหลินจือ กินต่อเนื่อง อาการจะดีขึ้นนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ข้อมูลที่แชร์ว่ามีสมุนไพร หรืออาหารเสริมรักษาโรคซึมเศร้าได้นั้น ไม่เป็นความจริง ส่วนใหญ่เป็นเพียงบรรเทาอาการเท่านั้น ขมิ้นชัน อาจจะมีส่วนช่วยปรับลดอาการซึมเศร้า แต่อย่างไรก็ตามยังไม่ใช่การรักษาหลักอย่างไรก็ตามยังไม่มีรายงานวิจัยรองรับว่าการได้รับสารสกัดจากขมิ้นชันร่วมกับยารักษาโรคซึมเศร้านั้นสามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ดีกว่าการได้รับยารักษาโรคซึมเศร้า ใบบัวบก ยังไม่มีการศึกษาว่าใบบัวบกสามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ คาโมมาย ช่วยคลายความวิตกกังวลได้ แต่รักษาโรคซึมเศร้าไม่ได้ กระท่อม มีฤทธิ์กระตุ้นให้มีความตื่นตัว แต่จิตใจก็ยังเศร้าอยู่ เมื่อหยุดกระท่อมก็จะทำให้เกิดอาการเพลีย แพทย์ไม่แนะนำ กัญชา สารสกัด CBD ในน้ำมันกัญชา สามารถช่วยบรรเทาอาการซึมเศร้าได้ แต่ก็มีการศึกษาพบว่ากัญชาเพิ่มอัตราความเสี่ยงการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น เห็ดหลินจือ ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ช่วยทำให้ความรู้สึกอ่อนล้าดีขึ้น แต่ไม่มีฤทธิ์ในการรักษาโรคซึมเศร้า ส่วนอาหารเสริมที่มีสารไทโรซีน ช่วยกระตุ้นการทำงานของสมอง ให้ ช่วยลดภาวะความเครียด แพทย์ไม่แนะนำให้นำมารักษาโรคซึมเศร้า แพทย์กล่าวเพิ่มเติมว่า ในปัจจุบันยังไม่พบว่ามีสมุนไพรใดสามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ การรักษาด้วยยาในปัจจุบัน คนไข้กลัวว่ายาจะเป็นอันตรายนั้นไม่เป็นความจริง […]

อย.ส่งอาหารเสริมตรวจเมทแอมเฟตามีน คาด 1 สัปดาห์รู้ผล

รองเลขาธิการ อย. เผยเจ้าหน้าที่ส่งอาหารเสริมตรวจสอบแล้ว คาด 1 สัปดาห์รู้ผล หลังเด็ก 19 ปี รับประทาน และเจอสารเมทแอมเฟตามีนในปัสสาวะ ขณะที่ผลตรวจสอบสถานะบริษัทผลิตเป็นบริษัทถูกต้องตามกฎหมาย-ผลิตภัณฑ์ขึ้นทะเบียน อย.ถูกต้อง

ชัวร์ก่อนแชร์ : วิตามินจากแปะก๊วยแก้นอนกรน จริงหรือ ?

ไม่จริง ไม่ควรแชร์ต่อ

ยังไม่มีข้อมูลยืนยันชัดเจนว่า การกินวิตามินจะสามารถรักษาอาการนอนกรนให้หายได้
ในระยะหลังเริ่มมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสารสกัดใบแปะก๊วย มีข้อมูลว่า ช่วยเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ ทำให้หลับลึกขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีหลักฐานการนำมาใช้ในการรักษาผู้ป่วยอาการนอนกรน หรือผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ

อย.เตือนอย่าเชื่อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร อ้างรักษาโรคตา

อย.เตือนอย่าหลงเชื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอวดอ้างรักษาโรคตา เพราะไม่มีหลักฐานทางการแพทย์พิสูจน์รักษาได้ แนะมีอาการผิดปกติ ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยตรง

1 2 3 5
...