ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : รสเผ็ด ในตำราแพทย์

15 มกราคม 2567 – จริง ๆ แล้ว รสเผ็ด เป็นประโยชน์หรือโทษ อาหารรสเผ็ด กินอย่างไร ให้เป็นยา แล้วถ้าจะ แก้เผ็ด ต้องกินอะไร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ภญ.ดร.ผกากรอง ขวัญข้าว หัวหน้าศูนย์หลักฐานเชิงประจักษ์ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร อาจารย์นายแพทย์อาลันณ์ จันท์จารุณี อาจารย์ประจำสาขาทางเดินอาหารและตับ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 5 มกราคม 2567สัมภาษณ์เมื่อ : 12 มกราคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ CyberAlert!🚨: เตือนภัยมิจฉาชีพแอบอ้าง สคร. ชวนดูคลิป-โหลดแอป-หลอกแจกเงินแสน

ตามที่มีการแชร์เชิญชวนให้เข้าร่วมโครงการแจกเงิน 1 แสนบาท โดย สคร. นั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ต่อเป็นอุบายของมิจฉาชีพแอบอ้างชื่อ สคร. ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง (สคร.) ได้รับการยืนยันว่า สคร.ไม่มีการเปิดรับสมัครงาน หรือโครงการร่วมลงทุน หรือกิจกรรมไลฟ์สดดูคลิป เพื่อมอบเงิน 1 แสนบาทให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ แต่อย่างใด ทั้งนี้ ก่อนหน้านี้เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2567 สคร.ได้ออกประกาศเตือนภัย เพจเฟซบุ๊กปลอมแอบอ้างชื่อและตราสัญลักษณ์ “สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ” หรือชื่อย่อ “สคร.” หรือ “SEPO” พร้อมมีลักษณะและพฤติกรรมที่ทำให้เกิดความเข้าใจผิด เช่น นำรูปตราสัญลักษณ์ของสคร. มาใช้เป็นโปรไฟล์ และได้สร้างโพสต์ วิดีโอ ตลอดจนแชร์ข่าวสารจากเพจจริง “เพจเฟซบุ๊กดังกล่าว ไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ รวมถึงทาง สคร. ไม่มีนโยบายติดต่อกับประชาชนชนโดยตรงเกี่ยวกับการรับสมัครงานและชวนลงทุนใด ๆ ทั้งทางโทรศัพท์ ข้อความสั้น (SMS) และแอปพลิเคชันไลน์” แถลงการณ์ระบุ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ EXPERT TIPS : ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภา

12 มกราคม 2567 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภา บุคคลท่านนี้คือ หนึ่งในผู้ที่ถูกแอบอ้างชื่อ ในหลากหลายรูปแบบของ ข่าวปลอม ข้อมูลเท็จ โฆษณาหลอกลวง และคลิปเสียง ข่าวไหนจริง ข่าวไหนเท็จ แล้วประชาชนจะรู้ได้อย่างไรว่าเรื่องไหน จริงหรือปลอม ? ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภา ที่ปรึกษา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สัมภาษณ์เมื่อ : 25 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : CRYPTO SCAM ? — อาชญากรรมคริปโต หลอกทุกดอก แล้วบอกให้ลงทุน

13 มกราคม 2567  สิ่งนี้… ถือเป็นภัยร้ายที่สะเทือนวงการนักลงทุนคริปโต และสิ่งนี้… เคยก่ออาชญากรรมเชิดเงินของนักลงทุนไปได้ถึง 185 ล้านดอลลาร์ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 28 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : เข้าใจสาเหตุภาวะตามัว

14 มกราคม 2567 ภาวะตามัวมีกี่แบบ อันตรายหรือไม่ และเกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

 ชัวร์ก่อนแชร์ FactINFOcus : ไมโครเวฟ มีรังสีตกค้าง ทำให้เป็นมะเร็ง จริงหรือ ?

ตามที่มีข้อความเตือน การกินอาหารที่อุ่นด้วยไมโครเวฟอันตราย​ เพราะมีรังสีตกค้างและทำให้เป็นมะเร็งนั้น บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌

ชัวร์ก่อนแชร์ : คำแนะนำใช้ไข่ขาวทาแผลไฟไหม้ จริงหรือ ?

ตามที่มีการแชร์แนะนำให้ใช้ไข่ขาวทาแผลไฟไหม้นั้น บทสรุป : ไม่จริง ❌ ไม่ควรแชร์ต่ออาจทำให้แผลมีโอกาสติดเชื้อได้มากขึ้น ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ. นพ.พรพรหม เมืองแมนผู้ช่วยคณบดี และ รองหัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญการรักษาแผลไฟไหม้ ได้รับการยืนยันว่า ไม่แนะนำให้ใช้วิธีการใช้ไข่ขาวทาแผลไฟไหม้ ตามข้อมูลที่แชร์กัน “ดูแล้วไม่แนะนำครับ เพราะความสะอาดของไข่ขาวนั้นคาดการณ์ยาก แผลมีโอกาสติดเชื้อได้มากขึ้นครับ” ศ. นพ.พรพรหม ระบุ สำหรับข้อความดังกล่าว เมื่อสืบค้นหาต้นตอ พบว่ามีแชร์กันเป็นภาษาต่างประเทศ ตั้งแต่ช่วงปี 2554 ซึ่งเว็บไซต์ Snopes.com ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและยืนยันเช่นกันว่า ข้อความดังกล่าวไม่เป็นความจริง ไม่ควรใช้ไข่ขาวในการปฐมพยาบาลแผลไฟไหม้ เนื่องจากมีความเสี่ยงติดเชื้อ รวมถึงเชื้อซาลโมเนลลา ”In a nutshell, don’t do it, because the danger of introducing salmonella into an open wound should not be […]

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต รวมเรื่องเข้าใจผิดเกี่ยวกับการใส่แว่นตา จริงหรือ ?

10 มกราคม 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์เกี่ยวกับแว่นตาเอาไว้มากมาย บ้างก็ว่าใส่ ๆ ถอด ๆ แว่น สายตาจะยิ่งสั้น และการตัดแว่นไม่ตรงค่าสายตา เสี่ยงมีปัญหา จะทำให้ตาบอด ?! ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย  ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปัญหาเรื่องตาในผู้สูงอายุ

11 มกราคม 2566 – ปัญหาโรคตายอดฮิตในผู้สูงวัยมีอะไรบ้าง และจะสังเกต ป้องกันและเฝ้าระวังได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : วิธีตรวจเช็กอาการฝาสูบโก่ง จริงหรือ ?

10 มกราคม 2567 – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์วิธีการตรวจเช็กเมื่อรถเกิดอาการฝาสูบโก่ง เช่น น้ำในหม้อพักน้ำมีคราบน้ำมันเครื่องปนนั้น บทสรุป : จริง แชร์ได้ ✅ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 18 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : การกินใบมะละกอ

8 มกราคม  2567 – ใบมะละกอ กินได้หรือไม่ กินอย่างไรให้ปลอดภัย แล้วใช้รักษาโรคอะไรได้บ้าง ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ภญ.ดร.ผกากรอง ขวัญข้าว หัวหน้าศูนย์หลักฐานเชิงประจักษ์ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร สัมภาษณ์เมื่อ : 5 มกราคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปัญหาโรคตาในคนวัยทำงาน

5 มกราคม 2567 – ปัญหาโรคตาในคนวัยทำงานมีอะไรบ้าง และเราจะป้องกันหรือรักษาได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 26 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

1 21 22 23 24 25 201
...