ผ้าฝ้ายเข็นมือ | โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว”

กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับ อสมท ขอเชิญชวนร่วมสืบสานงานศิลปะวัฒนธรรมของชาติตามพระราชปณิทานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ส่งเสริมผ้าไทยผ้าถิ่น ในโครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง พลิ้ว

ผ้าฝ้ายทอมือย้อมคราม จ.เชียงใหม่ | โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว”

กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับ อสมท ขอเชิญชวนร่วมสืบสานงานศิลปะวัฒนธรรมของชาติตามพระราชปณิทานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ส่งเสริมผ้าไทยผ้าถิ่น ในโครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง พลิ้ว

ผ้าทอมือย้อมคราม จ.เชียงใหม่ | โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว”

กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับ อสมท ขอเชิญชวนร่วมสืบสานงานศิลปะวัฒนธรรมของชาติตามพระราชปณิทานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ส่งเสริมผ้าไทยผ้าถิ่น ในโครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง พลิ้ว

เเฟชั่นผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้า | โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว” (เรื่องพลบค่ำ 10 มิ.ย.64)

กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับ อสมท ขอเชิญชวนร่วมสืบสานงานศิลปะวัฒนธรรมของชาติตามพระราชปณิทานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ส่งเสริมผ้าไทยผ้าถิ่น ในโครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง พลิ้ว

ชุดบาบ๋าสไตล์เปอร์รานากัน จ.ภูเก็ต | โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว”

กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับ อสมท ขอเชิญชวนร่วมสืบสานงานศิลปะวัฒนธรรมของชาติตามพระราชปณิทานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ส่งเสริมผ้าไทยผ้าถิ่น ในโครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง พลิ้ว

วธ.จัดอบรมนักเรียนเฝ้าระวังแพร่ข้อมูลไม่เหมาะสม

วธ.7 มิ.ย.- วธ.เปิดอบรมนักเรียนแกนนำเฝ้าระวังทางวัฒนธรรมผ่าน Zoom ทั่วประเทศ หวังป้องกัน-แก้ไขปัญหารับ-ส่ง เผยแพร่ข้อมูลไม่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และประชาชนในยุคดิจิทัล โดยใช้มิติทางวัฒนธรรม นางยุพา ทวีวัฒนะกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานเปิดกิจกรรมการสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาของเด็ก เยาวชน และประชาชน โดยใช้มิติทางวัฒนธรรมในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค โดยมีนางจริญญา จักรกาย ผู้อำนวยการกองเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม ณ ห้องแถลงข่าว ชั้น 1 กระทรวงวัฒนธรรม การจัดกิจกรรมครั้งนี้เป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom จากส่วนกลางไปยังสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดทุกแห่ง ระหว่างเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นแกนนำนักเรียนระดับมัธยมศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั่วประเทศ รวมจำนวน 308 คน ปลัด วธ. กล่าวว่า การเฝ้าระวังทางวัฒนธรรมและการสร้างเครือข่ายทางวัฒนธรรม เป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้กับคนในชาติได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของการมีส่วนร่วมในการรักษาวัฒนธรรมที่ดีงามของสังคมไทย และร่วมเฝ้าระวังกระแสวัฒนธรรมที่เบี่ยงเบนที่มากับสื่อ และโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ส่งผลให้เกิดปัญหาสังคมในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน ที่ถือเป็นกำลังหลักในการพัฒนาประเทศ ดังนั้น วธ. […]

วธ.บวงสรวงทับหลังหนองหงส์-เขาโล้น คืนสู่มาตุภูมิ

นับเป็นเวลากว่า 55 ปี ที่ทับหลังปราสาทหนองหงส์ จ.บุรีรัมย์ และทับหลังปราสาทเขาโล้น จ.สระแก้ว สูญหายจากประเทศไทยไปอยู่ที่สหรัฐอเมริกา แต่ด้วยความร่วมมืออันดีระหว่างภาครัฐและภาคประชาชน ในการติดตามคืนจากทางการสหรัฐได้สำเร็จ กระทรวงวัฒนธรรมได้จัดพิธีบวงสรวงต้อนรับมรดกชิ้นสำคัญของชาติกลับสู่มาตุภูมิอย่างยิ่งใหญ่และสมเกียรติ

ผ้ามัดย้อม “หม้อห้อม” จ.แพร่ | โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว”

โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว” เป็นโครงการที่ ก.วัฒนธรรม ร่วมกับ บมจ.อสมท เชิญชวนคุณผู้ชมสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ตามพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง รณรงค์ให้ทุกคนสวมใส่ผ้าไทย

ผ้าขาวม้า | โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว”

โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว” เป็นโครงการที่ ก.วัฒนธรรม ร่วมกับ บมจ.อสมท เชิญชวนคุณผู้ชมสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ตามพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง รณรงค์ให้ทุกคนสวมใส่ผ้าไทย

ผ้าฝ้ายย้อมคราม | โครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง “พลิ้ว”

กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับ อสมท ขอเชิญชวนร่วมสืบสานงานศิลปะวัฒนธรรมของชาติตามพระราชปณิทานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ส่งเสริมผ้าไทยผ้าถิ่น ในโครงการผ้าไทยสวมใส่ได้จริง พลิ้ว

ปตท. รับรางวัล “วัฒนคุณาธร” เชิดชู​สร้างประโยชน์ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย

บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) รับรางวัล “วัฒนคุณาธร” ในฐานะที่ ปตท. เป็นองค์กรที่ให้การสนับสนุน ส่งเสริมงานด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรมไทย ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรมมาอย่างต่อเนื่อง

วธ.บูรณาการ ขับเคลื่อนแผนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์

ในโลกยุคปัจจุบันใครๆก็สามารถเป็นสื่อได้ เพียงแค่มีเครื่องมือสื่อสาร สมาร์ทโฟน ทำให้ข้อมูลที่เผยแพร่สู่สาธารณะย่อมมีทั้งข้อเท็จจริง และข้อมูลเท็จบ้าง รัฐบาลจึงต้องมีเครื่องมือมาช่วยสังคมให้รู้เท่าทันสื่อ และช่วยสนับสนุนทุนสร้างสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เกิดเป็นแผนพัฒนาด้านการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ปลายทางสุดท้าย คือ สังคม ประเทศชาติ ได้ประโยชน์ ติดตามจากรายงาน

1 4 5 6 7 8 20
...