
MPI เดือน ม.ค.68 ดีขึ้น รับ กนง.ลดดอกเบี้ย
MPI เดือน ม.ค. 68 ดีขึ้น รับอานิสงส์มาตรการภาครัฐ ธปท.ลดดอกเบี้ยนโยบาย หนุนภาคการผลิตกระเตื้อง
MPI เดือน ม.ค. 68 ดีขึ้น รับอานิสงส์มาตรการภาครัฐ ธปท.ลดดอกเบี้ยนโยบาย หนุนภาคการผลิตกระเตื้อง
สศอ.เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) กันยายน 2567 อยู่ที่ระดับ 92.44 หดตัวร้อยละ 3.51 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่งผลให้ไตรมาส 3 ปี 2567 หดตัวเฉลี่ยร้อยละ 1.23 หลังการผลิตยานยนต์ยังคงปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 14 พร้อมเสนอแนะผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมไทยเตรียมตัวรับผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ เน้นปรับตัวและบริหารจัดการทรัพยากรอย่างเหมาะสม
“รัดเกล้า” เผย MPI เดือนเมษายน 2567 ขยายตัวร้อยละ 3.43 อยู่ที่ระดับ 90.34 ขยายตัวเป็นบวกครั้งแรกในรอบ 18 เดือน ผลจากเศรษฐกิจโลกเริ่มฟื้นตัว การขยายตัวของภาคการส่งออกที่ดีขึ้น และการท่องเที่ยวที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
สศอ.เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนแรก ปี 2567 อยู่ที่ระดับ 99.15 หดตัวร้อยละ 2.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จากเศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัวได้ช้าหลังปัญหาหนี้ภาคครัวเรือนอยู่ในระดับสูง และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลต่อต้นทุนทางการเงินและภาระหนี้ของผู้ประกอบการ ด้านการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 10.30 ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 คาดจะทำให้ดัชนี MPI หลังจากนี้ปรับตัวดีขึ้น
สศอ.เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนเมษายน หดตัวร้อยละ 8.14 เมื่อเทียบจากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกที่หดตัวลง ต้นทุนการผลิต – การเงินเพิ่มขึ้น กดดันภาคการส่งออก และขีดความสามารถการแข่งขันในอุตสาหกรรมไทยลดลง พร้อมปรับประมาณการดัชนี MPI และ GDP ภาคอุตสาหกรรม ปีนี้ขยายตัวที่ร้อยละ 0.0 – 1.0
MPI ต.ค. ขยายตัวจากเดือนก่อนร้อยละ 0.45 คาดปีหน้า MPI และ GDP ภาคอุตฯ จะกลับมาขยายตัวเป็นบวก
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม คาดดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ปี 2563 ทรุดต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ตั้งแต่มีมา 20 ปี
The manufacturing production index fell 5.54% year-on-year in June, the biggest drop in 29 months.