ประเมินโหวตเลือกนายกฯ
หลังการเลือกประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เสร็จสิ้น ด่านต่อไปคือ การโหวตเลือกนายกรัฐมนตรี ต้องจับสัญญาณว่า จะสามารถโหวตได้ภายในครั้งเดียวหรือไม่
หลังการเลือกประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เสร็จสิ้น ด่านต่อไปคือ การโหวตเลือกนายกรัฐมนตรี ต้องจับสัญญาณว่า จะสามารถโหวตได้ภายในครั้งเดียวหรือไม่
รศ.ดร.พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) มองการโหวตเลือกนายกฯ เชื่อพรรคเพื่อไทยจะสนับสนุนเต็มที่ เพื่อไม่ให้เกิดข้อครหา ส่วนเสียง ส.ว. ก็มีทั้งหนุนและไม่หนุน แต่ในช่วง 10 วัน ยังคงมีความเสี่ยง สถานการณ์อาจพลิกผันได้ตลอดเวลา
นักวิชาการ คาดรัฐบาลใหม่ปรับงบประมาณปี 67 รองรับรัฐสวัสดิการ 2 แสนล้านบาท ขาดอีก 4.5 แสนล้านบาท ทยอยตั้งงบในปี 2568-2570 คาดทุนจีนลงทุนแตะหนึ่งแสนล้านบาทปีนี้
ส.ว.นักวิชาการ ชี้ต้องใช้กฎหมายฟอกเงินยึดทรัพย์ทั้งครอบครัว ตำรวจเรียกรับผลประโยชน์ โทษต้องหนัก ไม่ใช่แค่ดำเนินคดีอาญาและวินัย พร้อมตั้งองค์กรตรวจสอบตำรวจ ไม่ใช่แค่ตรวจสอบภายในเอง เพราะล้มเหลว
นักวิชาการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มองว่า การจำลองประชามติแยกตัวเป็นเอกราช สามารถทำได้ แต่ต้องอยู่ในกรอบของรัฐธรรมนูญไทยที่ว่า “ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้”
กรุงเทพฯ 16 มิ.ย. – “สฤณี” นักวิชาการอิสระด้านเศรษฐศาสตร์ เสนอ ไอทีวี แก้ไขรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น-แบบนำส่งงบการเงิน (ส.บช.3) ให้ถูกต้อง แนะกรรมการอิสระตรวจสอบให้เกิดความโปร่งใส
หลังไอทีวีชี้แจงปมการบันทึกรายงานการประชุมไม่ตรงกับคลิปวิดีโอขณะประชุม รวมถึงแบบนำส่งงบการเงินที่ยื่นต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ไม่ตรงกับที่เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ทำให้นักวิชาการหลายท่าน อย่าง “สฤณี-สารวัตรเพียว” ออกมาตั้งข้อสังเกตอย่างต่อเนื่อง
กรณี กกต. มีมติไม่รับคำร้องกรณีนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกลและแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี กรณีถือหุ้นไอทีวี เหตุคำร้องยื่นเกินระยะเวลาตามกฎหมายกำหนด แต่มีมติรับเรื่องไว้พิจารณาตามมาตรา 151 มีนักวิชาการหลายท่านชี้ว่าหนักกว่าเดิม
นักวิชาการ ชี้ถ้า “พิธา” ถือหุ้นสื่อเป็นความผิด มีผลทั้งตำแหน่งแคนดิเดตนายกฯ – การรับรองให้ผู้สมัครส.ส. เพราะกฎหมายเชื่อมโยงกัน มองไม่เห็นทางตั้งรัฐบาลแห่งชาติ
นักวิชาการวิเคราะห์ศึกชิงเก้าอี้ประธานสภาผู้แทนราษฎรในพรรคร่วมรัฐบาล ระหว่าง 2 พรรคใหญ่ “เพื่อไทย-ก้าวไกล” ว่ามาจากปัจจัยอะไร และมีทางออกอย่างไร
นักวิชาการ ระบุตำแหน่งประธานสภาฯ กับการเลือกตั้งครั้งนี้สำคัญกว่าครั้งอื่น เหตุความบิดเบี้ยวของรัฐธรรมนูญที่ให้ ส.ว.เลือกนายกฯ ชี้ถ้าเป็นสถานการณ์ปกติยังต่อรองกันได้ แต่รอบนี้ถ้าก้าวไกล ยกประธานสภาฯ ให้เพื่อไทย มีสิทธิชวดตำแหน่งนายกฯ ด้วย
นักวิชาการแนะ “ก้าวไกล” ลดความเกรี้ยวกราด หากหวังคะแนนจาก ส.ว. และ ส.ส. โหวตส่ง “พิธา” ขึ้นสู่นายกรัฐมนตรี และต้องมีจุดยืนที่ชัดเจน