ชัวร์ก่อนแชร์ : คลิปขั้นตอนจัมพ์แบตรถยนต์ จริงหรือ ?

ห้ามพ่วงขั้วลบของรถคันที่มีแบตฯ กับ ขั้วลบที่แบตฯหมด เข้าหากัน เพราะอาจจะเกิดประกายไฟจากการสัมผัสก๊าซไฮโดรเจน จะทำให้เป็นอันตรายได้

ชัวร์ก่อนแชร์ : ไข่ฟองเล็กดีกว่าไข่ฟองใหญ่ จริงหรือ ?

ไข่ฟองเล็กมีราคาถูกกว่าไข่ฟองใหญ่จริง ขนาดเล็กใหญ่ของไข่จะทำให้ผู้บริโภคได้รับโปรตีนแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยเท่านั้น

ชัวร์ก่อนแชร์ : 8 อาหารศัตรูของมะเร็ง จริงหรือ ?

ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยันอย่างชัดเจน การรับประทานสิ่งเหล่านี้เพื่อต้านมะเร็ง ข้อมูลตรงนี้จึงยังไม่เหมาะสมที่จะแชร์ต่อ

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : GOBLIN MODE ? — พฤติกรรมการทำตามใจตัวเอง

GOBLIN MODE คำยอดนิยมในปี 2022 แต่พบการใช้มาตั้งแต่ปี 2009 คำนี้…ได้รับการโหวตให้เป็นคำแห่งปี ด้วยคะแนนกว่า 3 แสน หรือคิดเป็น 93% เอาชนะแม้แต่คำศัพท์ดังอย่าง Metaverse

ชัวร์ก่อนแชร์ : ติดจอ ทำให้เด็กเป็นออทิสติก จริงหรือ ?

เด็กกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นออทิสติกอยู่แล้ว เมื่อถูกเลี้ยงดูด้วยสื่อหน้าจอเหล่านี้เยอะ อาจจะเปิดทิ้งไว้โดยที่เด็กจะดูหรือไม่ดูก็ตาม การเลี้ยงด้วยพฤติกรรมแบบนี้มีโอกาสเป็นตัวเร่งให้เกิดความเสี่ยงเป็นออทิสติกมากขึ้น

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สูตรอาหารลดความอ้วน จริงหรือ ?

บนโซเชียลมีการแชร์ข้อมูลเกี่ยวกับสูตรฮิตอาหารลดความอ้วนไว้มากมาย เรื่องไหนจริง? เรื่องไหนเท็จ? เราควรตรวจสอบให้แน่ใจ

เพื่อนๆ สามารถค้นหาคำตอบที่สงสัยได้ในชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST ที่ร้อยเรียงเรื่องฮิตติดอันดับเกี่ยวกับสูตรอาหารลดความอ้วน

ชัวร์ก่อนแชร์ : 7 เทคนิคดูแลรถยนต์ให้ประหยัดน้ำมัน จริงหรือ ?

7 เทคนิคที่แชร์มาส่วนใหญ่มีความถูกต้อง แต่มีบ้างในบางข้อที่ต้องเพิ่มคำอธิบายให้ชัดเจนมากขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดความเข้าใจผิด

ชัวร์ก่อนแชร์: ดอกชบารักษาโควิด-19 และมะเร็งได้ จริงหรือ?

แม้ดอกชบาจะมีสรรพคุณที่หลากหลาย แต่ WHO ยืนยันว่า ไม่พบหลักฐานว่าดอกชบาสามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 หรือผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากแต่อย่างใด

ชัวร์ก่อนแชร์: สหรัฐปลูกพืช mRNA โควิด-19 ทดแทนการฉีดวัคซีน จริงหรือ?

มีการวิจัยปลูกพืช mRNA อยู่จริง แต่เป็นการทดลองเพื่อทดแทนวัคซีน mRNA ทั่วไป ไม่ได้เจาะจงเฉพาะวัคซีนโควิด 19 เท่านั้น และต้องใช้เวลาวิจัยอีกหลายปีกว่าจะนำมาใช้ได้จริง

ชัวร์ก่อนแชร์: แอนติบอดีจากวัคซีนทำให้กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ จริงหรือ?

เป็นการบิดเบือนบทสรุปของบทความที่ตั้งสมมติฐานผลกระทบจาก Anti-Idiotype Antibodies ที่อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 หรือวัคซีนโควิด-19 แต่ไม่ได้บอกว่าอาการกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบเกิดจากแอนติบอดีที่้กระตุ้นโดยวัคซีน

1 108 109 110 111 112 126
...