ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : รู้จัก แร็กพวงมาลัยรถยนต์

26 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับ แร็กพวงมาลัยว่า มีหน้าที่อย่างไร แบ่งเป็นกี่รูปแบบ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ คุณสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ แร็คพวงมาลัยคืออะไร? 1. แบบ Worm and Pion (เฟืองแบบตัวหนอน) 2. แบบไฮดรอลิก (พาวเวอร์) 3. แบบไฟฟ้า สรุป : แร็กพวงมาลัยแต่ละแบบมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับการใช้งานและเทคโนโลยีในยุคนั้น ๆ สัมภาษณ์เมื่อ : 25 ตุลาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : วัคซีนป้องกันไอกรน

25 พฤศจิกายน 2567 – โรคไอกรน มีส่วนป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน แต่วัคซีนป้องกันไอกรนมีกี่ชนิด เคยฉีดแล้ว ต้องฉีดอีกหรือไม่ เมื่อใด และใครบ้างที่ควรฉีด ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล วัคซีนป้องกันไอกรน วัคซีนป้องกันไอกรนเป็นวัคซีนที่ช่วยป้องกันโรคไอกรน ซึ่งเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจที่รุนแรง โดยเฉพาะในเด็กเล็ก วัคซีนป้องกันไอกรนมี 2 ชนิด คือ แบบเชื้อตายทั้งตัว และแบบ Subunit Vaccine ซึ่งมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกัน แต่แบบเชื้อตายทั้งตัวอาจมีผลข้างเคียงมากกว่า วัคซีนไอกรนอยู่ในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข แนะนำให้ฉีดในเด็กตั้งแต่อายุ 2 เดือน 4 เดือน 6 เดือน และกระตุ้นเข็มที่เมื่ออายุ 1 ขวบครึ่ง และ 4 ขวบ ภูมิคุ้มกันไอกรนไม่คงอยู่ตลอดชีวิต ต้องกระตุ้นอีกครั้งตอนอายุ 11-12 ปี และทุก ๆ 10 ปีหลังจากนั้น […]

ชัวร์ก่อนแชร์ : 5 สัญญาณโรคไอกรน จริงหรือ ?

22 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลแชร์ 5 อาการสัญญาณโรคไอกรน มีทั้งไอแห้งรุนแรง 2-3 สัปดาห์ ไข้ต่ำ 38 องศา มีน้ำมูกและอาเจียน มีเลือดออกบริเวณตาขาว และหายใจเข้ามีเสียง “วู้ฟ” สรุป : ✅ แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ 19 พฤศจิกายน 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : Watering Hole — การโจมตี เสมือนกับดักล่าเหยื่อ

23 พฤศจิกายน 2567 สิ่งนี้…เป็นการโจมตีทางไซเบอร์ที่เปรียบเสมือนพฤติกรรมของสัตว์นักล่า ที่ดักรอเหยื่ออยู่ และ สิ่งนี้ …ถูกใช้เป็นเครื่องมีสำหรับโจมตีระดับองค์กร หรือประเทศ ที่มีอัตราความสำเร็จสูง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ Watering Hole คืออะไร? Watering Hole เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่แฮกเกอร์จะเจาะระบบเว็บไซต์ที่คนนิยมเข้าใช้งาน เมื่อเหยื่อเข้าเว็บไซต์นั้น ก็จะติดมัลแวร์ หรือถูกขโมยข้อมูล โดยไม่รู้ตัว เปรียบเหมือนสัตว์นักล่าที่วางยาพิษไว้ที่แหล่งน้ำ ซึ่งสัตว์ต่างๆ ต้องมากินน้ำ ตัวอย่าง Watering Hole วิธีป้องกัน สรุป : Watering Hole เป็นภัยคุกคามที่อันตราย เพราะแฝงตัวอยู่ในเว็บไซต์ที่เราใช้งานเป็นประจำ ดังนั้น เราควรระมัดระวัง และป้องกันตัวเองอยู่เสมอ สัมภาษณ์เมื่อ 5 กันยายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : อุบัติเหตุกับดวงตา

24 พฤศจิกายน 2567 – อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับดวงจากการทำงานมีอะไรบ้าง และจะมีวิธีการป้องกันลดความเสี่ยงอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ทำไมต้องระวังอุบัติเหตุทางตา? ดวงตาเป็นอวัยวะสำคัญ แต่ก็บอบบางมาก แม้จะมีเบ้าตาคอยปกป้อง แต่ก็ยังเกิดอุบัติเหตุได้ ซึ่งอาจนำไปสู่การสูญเสียการมองเห็น อุบัติเหตุทางตาแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ กิจกรรมที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางตา วิธีป้องกัน ข้อควรจำ อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้เสมอ การป้องกันไว้ก่อนย่อมดีที่สุด ดูแลดวงตาของคุณให้ปลอดภัยนะคะ ทำไมต้องระวังอุบัติเหตุทางตา? ดวงตาเป็นอวัยวะสำคัญ แต่ก็บอบบางมาก แม้จะมีเบ้าตาคอยปกป้อง แต่ก็ยังเกิดอุบัติเหตุได้ ซึ่งอาจนำไปสู่การสูญเสียการมองเห็น อุบัติเหตุทางตาแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ กิจกรรมที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางตา เช่น วิธีป้องกัน ข้อควรจำ อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้เสมอ การป้องกันไว้ก่อนย่อมดีที่สุด ดูแลดวงตาของคุณให้ปลอดภัยนะคะ สัมภาษณ์เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : แมลงวัน

21 พฤศจิกายน 2567 – ทำไมแมลงวันเข้ามาในบ้าน เมื่อแมลงวันตอมอาหารยังกินต่อได้หรือไม่ แมลงวันจะแพร่เชื้อสู่คนได้อย่างไร และจะมีวิธีการจัดการกับแมลงวันด้วยวิธีไหน ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.รัชฎาวรรณ เงินกลั่น รองหัวหน้าศูนย์วิจัยและเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านกีฏวิทยาชุมชนและสิ่งแวดล้อม และ อาจารย์ประจำ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทำไมแมลงวันถึงเข้าบ้าน? แมลงวันเลือกตอมอาหารที่สกปรกหรือไม่? แมลงวันแพร่เชื้อสู่คนได้อย่างไร? วิธีจัดการกับแมลงวัน ข้อควรจำ รักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ เพื่อป้องกันเชื้อโรคจากแมลงวัน สัมภาษณ์เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : HURDLESO IFRUNGS ? — เทคนิคคนร้าย อันตรายเพียงแอบมอง !

16 พฤศจิกายน 2567 – สิ่งนี้…เป็นกลอุบายการขโมยข้อมูลส่วนตัวทุกรูปแบบ ผ่านการสังเกตโดยตรง และ สิ่งนี้ …มักเกิดขึ้นในที่สาธารณะ ที่ใกล้ตัวจนอาจคาดไม่ถึง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 28 สิงหาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : อันตรายและการป้องกันไข้เลือดออก

17 พฤศจิกายน 2567 – ไข้เลือดออกเป็นซ้ำแล้วเสี่ยงเสียชีวิตจริงหรือไม่ และเราควรป้องกันไข้เลือดออกด้วยวิธีใดจึงจะดีที่สุด ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล โรคไข้เลือดออก ใคร ๆ ก็เป็นได้ ไข้เลือดออกเป็นซ้ำ อันตรายกว่าเดิม? ป้องกันอย่างไร? ข้อควรระวัง สัมภาษณ์เมื่อ : 22 ตุลาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดสูตรล้างลำไส้ จริงหรือ ?

20 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์สารพัดสูตรล้างลำไส้ ทั้งการกินน้ำส้มสาย ผสมด้วยน้ำอัดลมและโยเกิร์ต ช่วยให้ลำไส้สะอาด และหากท้องผูก ให้ดื่มน้ำผึ้ง น้ำมะขาม ช่วยแก้อาการท้องผูกได้ ?! 🎯 ตรวจสอบกับ อชิรญา คำจันทร์ศุภสิน นักปฏิบัติการวิจัย สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อาจารย์ นายแพทย์ ปิยะพันธ์ พฤกษพานิช หน่วยโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.อมรรัตน์ อรุณนวล ภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ศ.นพ.ประวิตร อัศวานนท์ หัวหน้าสาขาวิชาตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.ทพญ.ดุลยพร ตราชูธรรม หลักสูตรพิษวิทยาฯ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : รู้จัก ระบบเบรกรถยนต์

19 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับระบบเบรกของรถยนต์ว่า มีหน้าที่อย่างไร แบ่งเป็นกี่รูปแบบ และมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันอย่างไร ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญใน ชัวร์ก่อนแชร์ MOTOR CHECK กับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ สุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 25 ตุลาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดข้อห้ามและวิธีสังเกตอาการแมว จริงหรือ ?

13 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์สารพัดข้อห้ามและวิธีสังเกตอาการแมว ทั้งหนวดแมวห้ามตัด เพราะแมวใช้หนวดในการวัดระยะ รวมถึงอาเจียนและปัสสาวะของแมวนั้นบ่งบอกอาการบาดเจ็บของแมวได้ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.สพ.ญ.ดร.รสมา ภู่สุนทรธรรม หัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.น.สพ.ดร.สถาพร จิตตปาลพงศ์ คณบดีคณะเทคนิคการสัตวแพทย์ ม.เกษตรศาสตร์ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : สิ่งที่สามารถใช้แทนน้ำยาล้างรถได้ จริงหรือ ?

12 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์ สิ่งของที่สามารถใช้แทนน้ำยาล้างรถได้ เช่น น้ำยาล้างจาน และ แชมพูสระผม เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามได้ใน ซีรีส์ ชัวร์ก่อนแชร์ มอเตอร์เช็ก กับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร ณัฐชา เพ็ชร์ยิ้ม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมีและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สิ่งของที่ใช้แทนน้ำยาล้างรถได้ (แต่ไม่ควรใช้บ่อย) คำแนะนำ ข้อควรระวัง สัมภาษณ์เมื่อ 17 กันยายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

1 2 3 4 5 6 52