ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : สาเหตุที่ทำให้น้ำมันเครื่องหาย จริงหรือ ?

2 มกราคม 2567 – ตามที่มีการแชร์ สาเหตุที่ทำให้น้ำมันเครื่องหายไปจากเครื่องยนต์ เช่น ซีลหน้าและหลังเครื่องรั่ว เสื่อมสภาพ และ เครื่องยนต์เกิดอาการหลวมนั้น บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม ⚠️ น้ำมันเครื่องหาย อาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น 1.ซีลหน้าและหลังเครื่องรั่ว ✅ ซีลยางต่าง ๆ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ป้องกันน้ำมันเครื่องไม่ให้รั่วและน้ำมันเครื่องหยด ใต้ท้องรถ แต่หากเกิดการเสื่อมสภาพหรือชำรุด ก็อาจจะมีน้ำมันเครื่องหยดลงที่พื้นตรงจุดที่จอดรถเป็นประจำ 2.ประเก็นอ่างน้ำมันเครื่อง และประเก็นฝาครอบวาล์วรั่ว ✅ ประเก็นใช้เพื่อป้องกันการรั่วไหลของของเหลว อากาศ แก๊ส ที่อยู่ภายในชิ้นส่วนเหล่านี้จะมีชีลที่เป็นยาง เมื่อใช้ไปจะมีการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ปริ แตก ร้าว และรั่วซึมออกมา 3.เครื่องยนต์หลวม แหวนลูกสูบ เสื้อสูบสึกหรอ ✅ หากแหวนลูกสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ เสื่อมสภาพ หรือหลวม ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างลูกสูบ กับกระบอกสูบ แหวนกวาดน้ำมันไม่สามารถกวาดน้ำมันกลับไปที่อ่างน้ำมันเครื่องได้ทั้งหมด ทำให้มีน้ำมันเครื่องหลุดลอดเข้าไปในห้องเผาไหม้ได้ 4.ใช้น้ำมันเครื่องที่ไม่มีคุณภาพ ✅ ทำให้ความสามารถในการหล่อลื่น การทนความร้อน […]

ชัวร์ก่อนแชร์ แห่งปี 2566

31 ธันวาคม 2566 – ร่วมย้อนทบทวน 2566 ปีที่ภัยไซเบอร์เติบโตแพร่กระจาย ปีที่ “ข่าวปลอม” ยังไม่สูญหาย แต่วนเวียนและเกิดใหม่ ปีที่ยืนยันได้ว่า คนไทย ยังจำเป็นต้องเสริมภูมิป้องกันภัย นี่คือ ชัวร์ก่อนแชร์ แห่งปี 2566 ผู้ให้สัมภาษณ์ : Sam Gregory Executive Director, WITNESS.ORG สัมภาษณ์เมื่อ : 3 ธันวาคม 2566 เรียบเรียงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ อัปสกิล-สกัด-สแกม : 7 ทักษะ “ต้องสงสัย”

1 มกราคม 2567 – รอดพ้น แคล้วคลาด ภัยไซเบอร์ และสแกมเมอร์ทั้งหลาย ต่อไปนี้คือ 7 สกิล “ต้องสงสัย” ที่ควรมีไว้ในปี 2567 UPSKILL หมายถึง การยกระดับทักษะที่มีอยู่ ให้ทันกับความจำเป็นในปัจจุบันและอนาคต “อัปสกิล-สกัด-สแกม (UPSKILL KILL SCAM)” ซีรีส์พิเศษจาก ชัวร์ก่อนแชร์ เพื่อร่วมยกระดับทักษะคนไทย ให้เท่าทันกลอุบายใหม่ ๆ ของมิจฉาชีพและภัยไซเบอร์ในปัจจุบันและอนาคต รวบรวม-เรียบเรียงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ : คำเตือนโควิด (2567) จาก “นายแพทย์ประสิทธิ์” (ของแท้)

“นพ.ประสิทธิ์” ตอบทุกข้อสงสัย รับปีใหม่ 2567 อัปเดตสถานการณ์โควิด – รู้จัก JN.1 สายพันธุ์ใหม่ ต้องกังวลแค่ไหน – ยังต้องฉีดวัคซีนกันหรือไม่ – หากติดโควิดต้องทำอย่างไร ? 29 ธันวาคม 2566 – “ยาเขียวรักษาโควิด” นายแพทย์ประสิทธิ์ ไม่ได้กล่าวไว้ หรือที่เตือนว่า “ด่วน ด่วน ด่วน ให้ประชาชนล็อกดาวน์” ก็เป็นข้อมูลสุดเก่าตั้งแต่ไม่กี่เดือนแรกของการระบาดเมื่อปี 2564 แถมยังพ่วงด้วยสารพัดข้อมูลที่แนะนำผิด ๆ แต่ ! สิ่งที่ท่านกำลังจะได้ฟังต่อไปนี้ โปรดฟังให้ดี นี่คือ คำเตือนโควิด ฉบับต้นปี 2567 โดย นายแพทย์ประสิทธิ์ ของแท้! ศ.เกียรติคุณ ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตอบทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับ “โควิด-19” รับปีใหม่ 2567 ธรรมชาติของโคโรน่าไวรัส (โควิด-19) จะอยู่กับโลกนี้ไปอีกนาน เพราะไวรัสตัวนี้กลายพันธุ์ตลอดเวลา […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : หุ่นยนต์ช่วยฝึกเดิน

28 ธันวาคม 2566 – เมื่อมีเหตุที่ทำให้ต้องฝึกเดินอีกครั้ง การฟื้นฟูร่างกายโดยใช้หุ่นยนต์ช่วยฝึกเดิน เหมาะกับผู้ป่วยลักษณะใดบ้าง และคาดหวังผลการรักษาได้มากเพียงใด ศูนย​์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พญ.มณฑลี สุทธิธรรม แพทย์ผู้ชำนาญการด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลธนบุรี หมายเหตุ: เนื้อหานี้นำเสนอข้อเท็จจริงตามกรอบมาตรฐานของศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์โดยได้รับการสนับสนุนจากโรงพยาบาลธนบุรี สัมภาษณ์เมื่อ : 20 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : ตอนพิเศษ รวมเรื่องฮิต ที่สุดแห่งปี 2566 ชัวร์ก่อนแชร์ YouTube

27 ธันวาคม 2566 – เข้าสู่เทศกาลส่งท้ายปี 2566 ชัวร์ก่อนแชร์จึงขอรวมคลิปที่สุดแห่งปี ที่มียอดผู้รับชมสูงสุดบนแพลตฟอร์ม YouTube ของเรามาฝากกัน …จะมีเรื่องใดบ้าง เชิญรับชม

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check : 6 เทคนิคเตรียมรถ EV เดินทางไกล จริงหรือ ?

26 ธันวาคม 2566 – บนสังคมออนไลน์แชร์ 6 ข้อแนะนำสำหรับผู้ที่ต้องการใช้รถยนต์ไฟฟ้าเพื่อเดินทางไกลในช่วงเทศกาล เช่น ตรวจสภาพอุปกรณ์ต่าง ๆ และ วางแผนจุดชาร์จ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นายสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ สัมภาษณ์เมื่อ : 18 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์

เจาะลึก ประโยชน์ของ Generative AI| ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST | THE CYBER MINDSET

 24 ธันวาคม 2566 Generative Ai มีประโยชน์กับเราอย่างไร และจะพัฒนาการใช้ชีวิตของมนุษย์ให้สะดวกมากขึ้นแค่ไหน ติดตามได้ใน ชัวร์ก่อนแชร์ PODCAST ซีรีส์ THE CYBER MINDSET จะนำเสนอเนื้อหาที่ช่วยตอบข้อสงสัยและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับข่าวในโลกไซเบอร์ที่อาจใกล้ตัวคุณผู้ฟังมากกว่าที่คิด เพื่อลดความเสี่ยงการถูกโจรกรรมทางออนไลน์และเสริมภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้ไม่ตกเป็นเหยื่อจากความไม่รู้เท่าทัน #THECYBERMINDSET #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST รู้ทันไซเบอร์ สร้างความเข้าใจ ใช้งานปลอดภัยไปกับ #ชัวร์ก่อนแชร์PODCAST พอดแคสต์ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันสื่อ สังคม ภัยไซเบอร์และเข้าถึงข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน จัดทำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ด้วยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด

25 ธันวาคม 2566 – เมื่อข้อเข่าเสื่อมจนต้องผ่าเปลี่ยนข้อเข่า มีทางเลือกในการผ่าแบบไหนบ้าง และการผ่าโดยใช้หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด มีข้อพึงพิจารณาอย่างไร ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ นพ.วรวุฒิ กี่สุขพันธ์ ศัลยแพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกและข้อ ผู้ชำนาญการด้านผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม โรงพยาบาลธนบุรี สัมภาษณ์เมื่อ : 20 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์ หมายเหตุ: เนื้อหานี้นำเสนอข้อเท็จจริงตามกรอบมาตรฐานของศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์โดยได้รับการสนับสนุนจากโรงพยาบาลธนบุรี

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : SPOTLIGHT EFFECT ? — สภาวะทางจิต ที่หลายคนเป็น โดยไม่รู้ตัว

23 ธันวาคม 2566 สิ่งนี้… เป็นสภาวะที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตหลายคนเป็นโดยไม่รู้ตัว และ สิ่งนี้… อาจทำให้เกิดความวิตกกังวลในสายตาคนรอบข้างมากเกินความจำเป็น คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 22 สิงหาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย :  จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ : คลิปการผลิตหมูสามชั้นปลอม จริงหรือ ?

22 ธันวาคม 2566 – บนโซเชียลแชร์คลิปพร้อมคำเตือนให้ระวังหมูสามชั้นปลอม โดยเป็นคลิปกระบวนการผลิตหมูสามชั้นแผ่นใหญ่ ก่อนจะตัดออกเป็นแผ่นเหมือนเบคอน บทสรุป : ไม่จริง ไม่ควรแชร์ ❌ ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ คลิปต้นฉบับ “เยลลีหมูสามชั้น” ที่ถูกนำมาแอบอ้าง • [단독] 삼겹살 맛 하나도 안나는 ‘삼겹살 젤리’. 요리요리에서 제…     • 달코미의 달달리뷰 – 디담 삼겹살젤리     • 절대 굽지 말라는 삼겹살 젤리를 구워봤더니.. 대박ㅋㅋㅋㅋㅋ [홍윤…  

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : นอนหลับตาไม่สนิท หรือตากระต่าย

24 ธันวาคม 2566 – ตากระต่าย หรือนอนหลับตาไม่สนิท เกิดจากสาเหตุใด อันตรายหรือไม่ และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 21 พฤศจิกายน 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

1 18 19 20 21 22 49